นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 242
22 นิตยสาร สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 . กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำ�กัด. ณิชา เวชพานิช. (2563). iNaturalist ชวนสำ�รวจนิเวศใกล้บ้าน ให้ธรรมชาติบำ�บัดความเครียดช่วงมาตรการล็อคดาวน์. สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2566, จาก https://greennews.agency/?p=20945. Pchalisa. (2565). Google Lens คือ อะไร ใช้ยังไง แอปค้นหาด้วยภาพ แอปมือถือ แอนดรอยด์ android ฟรี. สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2566, จาก https://intrend.trueid.net/article/google-lens-คือ-อะไร-ใช้ยังไง-แอปค้นหาด้วยภาพ-แอปมือถือ-แอนดรอยด์-android-ฟรี- trueidintrend_271912 บรรณานุกรม นอกจากการสืบค้นชนิดของสิ่งมีชีวิตแล้ว ระบบจะนำ�ข้อมูล สิ่งมีชีวิตของเราเพิ่มเข้าไปในฐานข้อมูลด้วย ดังนั้น การสำ�รวจนี้จะช่วยเพิ่ม ข้อมูลและช่วยพัฒนาระบบค้นหาของ Seek by iNaturalist แต่การใช้ แอปพลิเคชันนี้ข้อมูลดอกไม้ที่ได้จะเป็นข้อมูลจาก Wikipedia และข้อมูล ในเชิงการจัดจำ�แนกอาจไม่มีข้อมูลที่เราต้องการหรือไม่ครบถ้วน ดังนั้น จะต้องนำ�ชื่อดอกไม้ไปค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมด้านการมีพิษต่อไปอีก อย่างไรก็ตาม Seek by iNaturalist ยังมีฟังก์ชันอื่นๆ อีก ถ้าสนใจสามารถ ศึกษาและทดลองใช้เพิ่มเติมได้ การใช้แอปพลิเคชันทั้งสองนี้จะมีจุดเด่น จุดด้อยที่แตกต่างกัน ผู้สอนสามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน การนำ�แอปพลิเคชันมาใช้สืบหาดอกไม้กินได้ในบทความนี้เป็นตัวอย่าง ของการเชื่อมโยงกับชีวิตจริง ผู้สอนสามารถเลือกใช้สถานการณ์อื่นๆ ให้เหมาะสมกับการสืบหาสิ่งมีชีวิตตามที่ต้องการได้ หรือสามารถนำ� แอปพลิเคชัน Seek by iNaturalist ไปจัดกิจกรรมอื่นๆ เพิ่มเติมได้ เช่น การสำ�รวจสิ่งมีชีวิตในโรงเรียนหรือในท้องถิ่นโดยให้ผู้เรียนแข่งขันกัน สะสมป้าย เป็นการท้าทายที่จะให้สำ�รวจและเก็บข้อมูลสิ่งมีชีวิตเพิ่มขึ้น เรื่อยๆ และเห็นความสำ�คัญของวิทยาศาสตร์ภาคพลเมืองที่เป็นเครือข่าย อาสาสมัครในสังคมหรือชุมชนในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อร่วมกัน ศึกษาวิจัย ภาพจาก : https://twitter.com/seekbyinat
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5