นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 210 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561
17 ปีที่ 46 ฉบับที่ 210 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561 นักคณิตศาสตร์ชื่อ Benoit Mandelbrot (ค.ศ.1924 – 2010) ซึ่งเป็นผู้ให้ก� ำเนิดวิชา Fractal Geometry ในราว ค.ศ.1975 ดังนั้นวิชานี้จึงมีอายุประมาณ 40 ปี ซึ่งนับว่า น้อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับคณิตศาสตร์แขนงอื่น เช่น เรขาคณิตที่มีก� ำเนิดมานับพันปี สิ่งที่พบเห็นในธรรมชาติ จ� ำนวนมากไม่สามารถอธิบายได้ด้วยรูปเรขาคณิตแบบยุคลิด Mandelbrot เคยกล่าวว่า ก้อนเมฆไม่ใช่ทรงกลม ภูเขาไม่ใช่ รูปกรวย ชายฝั่งไม่ใช่วงกลม เปลือกไม้ไม่ได้ราบเรียบ หรือ สายฟ้าแลบไม่ได้ปรากฏเป็นเส้นตรง ภาพ 2 Benoit Mandelbrot ที่มา https://en.wikipedia.org/wiki/Benoit_Mandelbrot ต้นไม้ 1 ภาพ 3 แฟล็กทัลที่พบได้ในธรรมชาติ ที่มา 1 http://fractalfoundation.org/OFC/elmtrees.jpg 2 https://therealsasha.files.wordpress.com/2011/10/natural-fern-fractal.jpg 3 http://21region.org/uploads/posts/2009-11/1257196776_space_photo-5.jpg 4 https://www.fourmilab.ch/images/Romanesco/ 5 http://www2.phy.ilstu.edu/~rfm/380S16/FloridaCoastline.jpg 6 http://fractalfoundation.org/OFCA/lungs.jpg เทือกเขาหิมาลัย 3 ใบเฟิร์น 2 ผักบร็อคโคลี 4 เกล็ดหิมะ ชายฝั่งแม่น�้ ำ 5 สายฟ้าแลบ หลอดเลือดในปอด 6 แฟร็กทัลที่พบในธรรมชาติ แฟร็กทัลเป็นรูปแบบที่พบได้ทั่วไปในธรรมชาติ เช่น ต้นไม้ ใบไม้ เกล็ดหิมะ สายฟ้าแลบ เทือกเขา ชายฝั่งแม่น�้ ำ หลอดเลือดในร่างกายมนุษย์ และอีกมากมาย จนเป็นที่กล่าวกันว่าธรรมชาติเป็นนักออกแบบที่ดีเลิศที่สุด เช่น ท� ำให้พืช ได้รับประโยชน์สูงสุดจากแสงอาทิตย์ ช่วยให้หัวใจและหลอดเลือดล� ำเลียงออกซิเจนไปสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกายได้อย่างมี ประสิทธิภาพที่สุด
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTUzMTk1Mw==