นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 210 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

คณะที่ปรึกษา ประธานกรรมการ สสวท. ผู้อำ �นวยการ สสวท. รองผู้อำ �นวยการ สสวท. บรรณาธิการบริหาร ธรชญา พันธุนาวนิช หัวหน้ากองบรรณาธิการ พงษเ์ทพ บุญศรีโรจน์ กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยผู้อำ �นวยการ ผู้อำ �นวยการสาขา/ฝ่าย ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ/ผู้เชี่ยวชาญ ขจิต เมตตาเมธา ดร.ดวงกมล เบ้าวัน ดร.เทพกัญญา พรหมขัติแก้ว นันทฉัตร วงษ์ปัญญา ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ ดร.ภัทรวดี หาดแก้ว ดร.รณชัย ปานะโปย ดร.สนธิ พลชัยยา ดร.สุนัดดา โยมญาติ ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ ดวงมาลย์ บัวสังข์ เทอด พิธิยานุวัฒน์ นิลุบล กองทอง รัชนีกร มณีโชติรัตน์ ศิลปเวท คนธิคามี ดร.สมชาติ ไพศาลรัตน์ สินีนาฎ ทาบึงกาฬ สิริมดี นาคสังข์ สุประดิษฐ์ รุ่งศรี ดร.อนุชิต อารมณ์สาวะ เจ้าของ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 924 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทร. 0-2392-4021 ต่อ 3307 Call Center: 0-2335-5222 (ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท. หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่าได้มีการลอกเลียนแบบหรือแอบอ้าง โดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วย จักเป็นพระคุณยิ่ง) วัตถุประสงค์ 1. เผยแพร่และส่งเสริมความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีให้แก่ครูและผู้สนใจทั่วไป 2. เผยแพร่กิจกรรมและผลงานของ สสวท. 3. เสนอความก้าวหน้า​ของวิทยาการในด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีที่จะสนับสนุน การศึกษา​ของชาติให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบัน 4. แลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับ ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี จากครูและผู้สนใจทั่วไป “กรุงเทพฯ จมน�้ ำเพราะงูเขียวตัวเดียว” เทียบเคียงได้ว่า “เด็ดดอกไม้บนโลกสะเทือนถึงดวงดาว” นักอุตุนิยมวิทยามักเรียกว่า ผลกระทบจากผีเสื้อ (Butterfly Effect) เมื่อได้อ่านบทความนี้จะเข้าใจว่า ระบบ พลวัตที่อลวน คือแฟร็กทัล (Fractal) ที่นักคณิตศาสตร์น� ำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย เช่น ทางการแพทย์ ทางดาราศาสตร์ ทางอุตุนิยมวิทยา และทางเศรษฐศาสตร์การเงิน ในยุคที่ใครๆ ก็มีโทรศัพท์สมาร์ทโฟน หากเราน� ำมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ได้ น่าจะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาไทย ตัวอย่างการบูรณาการในการจัดกิจกรรม “พืชใบเลี้ยงเดี่ยว พืชใบเลี้ยงคู่” เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และมีความสะดวกในการจัดกิจกรรม นักเรียนจะได้รับทั้งความรู้ และความสนุกสนานคู่กัน ผลการประเมินระดับชาติที่ผ่านมา ปรากฎว่าโรงเรียนสาธิตมีผลการประเมินวิชาคณิตศาสตร์ อยู่ในระดับสูง สาขาคณิตศาสตร์ประถมศึกษา สสวท. จึงได้จัดท� ำวีดิทัศน์ การจัดการเรียนการสอนของครู จากโรงเรียนสาธิตที่มีชื่อเสียงของประเทศ 3 แห่ง ในชุด “สนุกคิดคณิตศาสตร์” ผ่าน YouTube CHANNELS ในวีดิทัศน์แต่ละตอน หากมีข้อติชมประการใด แสดงความคิดเห็นด้วยนะ การอธิบายสมบัติและการเปลี่ยนแปลงของสาร ในระดับที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ในวิชาเคมี อาจเป็นเรื่องยากที่จะเข้าใจและมองเห็นภาพ การใช้สื่อต่างๆ เป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนการสอน จะช่วยแก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้ โปรแกรม ChemDraw Ultra ช่วยสร้างรูปโครงสร้างสารเคมีได้ง่ายและสะดวก การน� ำไปใช้ประกอบการสอน ช่วยให้นักเรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน และช่วยกระตุ้นความสนใจของนักเรียน ได้อีกด้วย การเรียนรู้วิทย์ที่หุบเขาทาคาชิโฮ เป็นตัวอย่างการเรียนรู้วิทยาศาสตร์จากธรรมชาติ ที่สามารถ พบเห็นได้จากแหล่งท่องเที่ยว นักเรียนจะได้เรียนรู้ทั้งธรณีวิทยา ชีววิทยาของทั้งพืชและสัตว์ การปลูกฝัง เยาวชนไทยให้สนใจวิทยาศาสตร์ไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแค่ผู้ปกครองช่วยชี้น� ำให้สังเกตสิ่งที่อยู่รอบตัว หมั่นตั้งค� ำถามเพื่อกระตุ้นให้เด็กตอบ เพียงเท่านี้ก็จะช่วยจุดประกายให้เด็กสนใจวิทยาศาสตร์มากขึ้น และเป็นการปูพื้นฐานในการศึกษาวิทยาศาสตร์ต่อไปในอนาคต ขอฝาก www.facebook.com/ipstmag นิตยสาร สสวท. เพื่อเป็นช่องทางการสื่อสารอีกทางหนึ่ง แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้านะคะ ธรชญา พันธุนาวนิช บรรณาธิการบริหาร เปิดเล่ม สสวท. ปีที่ 46 ฉบับที่ 210 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

RkJQdWJsaXNoZXIy MTUzMTk1Mw==