นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 210 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

3 ปีที่ 46 ฉบับที่ 210 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561 เรียนวิทย์ จากภาพถ่ายดิจิทัล ภาพ 2 หลอดไฟ LED แบบ USB และแบตเตอรี่ส� ำรอง (Power bank) ภาพ 3 สไลด์ถาวร ภาพ 4 สมาร์ทโฟน ภาพ 1 เลนส์ ก� ำลังขยาย 40 เท่า (40x) รอบรู้ วิทย์ ดร.เปียทิพย์ พัวพันธ์ • ผู้ช� ำนาญ ฝ่ายนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ สสวท. • e-mail: pphua@ipst.ac.th ศิลปเวท คนธิคามี • นักวิชาการ ฝ่ายนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ สสวท. • e-mail: skont@ipst.ac.th ในงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประจ� ำปี 2560 ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพคเมืองทองธานี จ.นนทบุรี ผู้เขียนได้จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “เรียนวิทย์จากภาพถ่ายดิจิทัล” ด้วยเล็งเห็นความส� ำคัญของเทคโนโลยีที่สามารถน� ำมาใช้เพื่อการเรียนรู้ ท� ำให้เกิดแนวคิดในการน� ำสมาร์ทโฟน (Smartphone) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่หลายคนพกพาไปด้วยในทุกสถานที่ และทุกเวลา มาใช้บูรณาการในการจัดกิจกรรม เรื่อง “พืชใบเลี้ยงเดี่ยว พืชใบเลี้ยงคู่” เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Science process skills) 2 ด้าน อันได้แก่ การสังเกต (Observing) และการจ� ำแนกประเภท (Classifying) ให้แก่นักเรียน โดยมีรายละเอียดของวัสดุอุปกรณ์ และวิธีด� ำเนินกิจกรรม ดังนี้ วัสดุอุปกรณ์ ประกอบด้วย 1. เลนส์ส� ำหรับใช้กับสมาร์ทโฟน ก� ำลังขยาย 40 เท่า (40x) 2. สมาร์ทโฟนที่มีกล้อง (ของนักเรียน) 3. สไลด์ถาวร จ� ำนวน 6 ชิ้น ได้แก่ สไลด์รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว รากพืชใบเลี้ยงคู่ ล� ำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ล� ำต้นพืชใบเลี้ยงคู่ ใบพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และใบพืชใบเลี้ยงคู่ 4. หลอดไฟ LED แบบ USB 5. แบตเตอรี่ส� ำรอง (power bank) 6. ใบกิจกรรม “เรียนวิทย์จากภาพถ่ายดิจิทัล” เลนส์

RkJQdWJsaXNoZXIy MTUzMTk1Mw==