นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 210 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561
59 ปีที่ 46 ฉบับที่ 210 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561 ต่าย แสนซน “If the bee disappeared off the face of the Earth, man would only have four years left to live.” Albert Einstein อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เคยกล่าวไว้ว่า "ถ้าผึ้งหายไปจากโลกใบนี้ มนุษย์ จะมีเวลาเหลือเพียงแค่ 4 ปี เท่านั้นส� ำหรับการมีชีวิตต่อบนโลก" เฉลยค� ำถาม ฉบับที่ 208 ค� ำถาม ฉบับที่ 210 ที่ต่ายได้ถามค� ำถามทิ้งไว้ให้คุณๆ ได้ร่วมสนุกกันว่า ท� ำไมนักวิทยาศาสตร์ถึงต้องห่วงและวิตกกังวลมากๆ เกี่ยวกับ สถานภาพของความอยู่รอดของผึ้งบนโลกใบนี้ แล้วถ้าผึ้งลด จ� ำนวนลงไปหรือสูญพันธุ์ไปเลยจะเกิดผลกระทบอย่างไรบ้าง ค� ำตอบก็คือ ถ้าผึ้งลดจ� ำนวนหรือสูญพันธุ์ไป ก็จะส่งผลต่อห่วงโซ่ อาหารทั้งระบบเลยทีเดียว ทั้งทางตรงและทางอ้อม เริ่มตั้งแต่ ต้นไม้ที่มีผึ้งเข้าไปเกี่ยวข้องโดยตรง ก็จะลดจ� ำนวนลงเพราะไม่มี ผึ้งช่วยในการผสมเกสร ส่งผลต่อปริมาณอาหารจากพืชของมนุษย์ และขณะเดียวกันหากพืชนั้นๆ เป็นอาหารสัตว์ก็จะส่งผลท� ำให้ สัตว์ที่กินพืชนั้นๆ ขาดอาหาร และในที่สุดก็จะส่งผลกระทบต่อมา ถึงความอยู่รอดของมนุษย์ในที่สุด ฉบับนี้มีผู้ตอบถูกและรอรับ ของรางวัลที่บ้าน ทั้งหมด 3 ท่าน คือ จากเรื่องที่ต่ายน� ำมาเล่า คุณคิดว่า การละลายของแผ่น น�้ ำแข็งขั้วโลกจะส่งผลกระทบในด้านใดบ้าง รวมทั้งผลกระทบนั้น จะมีผลกับมนุษย์หรือไม่อย่างไร เมื่อหาค� ำตอบได้แล้ว พิมพ์ส่งมาหาต่ายทาง email: funny_rabbit@live.co.uk ภายในวันที่ 3 พฤษภาคม 2561 โดยต้องใส่ที่อยู่ที่จะให้จัดส่งของรางวัลของคุณมาให้เรียบร้อย และถ้าอยากให้ต่ายน� ำส่งสื่อเล็กๆ น้อยๆ จาก สสวท. ไปให้ โรงเรียน (นอกเหนือจากของรางวัลที่คุณจะได้รับ) ต่ายรบกวน ช่วยเขียนชื่อและที่อยู่ทางไปรษณีย์ของโรงเรียนที่คุณอยาก ให้ ต่ ายส่ งของไปให้ มาด้ วย เพื่อที่โรงเรียนจะได้ น� ำไปใช้ ในการเรียนการสอนได้ ส� ำหรับเฉลยอ่านได้ในอีก 2 ฉบับหน้า คือฉบับที่ 212 นะจ๊ะ มาถึงขั้วโลกเหนือ 2) มาจากเขตขั้วโลกเอง โดยเป็นมวลอากาศเย็น ที่เคลื่อนที่ใกล้กับพื้นผิวเพื่อมุ่งลงสู่ซีกโลกใต้ตามเส้นทาง ปกติ แต่เมื่อมาถึงเหนือมหาสมุทรแอตแลนติก กลับถูกท� ำ ให้อุ่นโดยอุณหภูมิจากน�้ ำทะเลที่สูงขึ้น จากนั้นก็จะเคลื่อนที่ ไปร วมกับมวลอากาศที่มาจากทะ เ ลทร ายซาฮา ร า 3) เป็นมวลอากาศอุ่น ที่มีจุดเริ่มต้นจากมวลอากาศเย็น ในช่วงบนๆ ชั้นโทรโปสเฟียร์ที่มีระดับความสูงมากกว่า 5 กิโลเมตรจากผิวโลก โดยจะเคลื่อนที่จากฝั่ งตะวันตก ไปยังฝั่ งตะวันออก และลอยนิ่งอยู่ เหนือประเทศกลุ่ม สแกนดิเนเวีย จากนั้นก็สะสมความร้อนแล้วเข้าสู่เส้นทาง การเคลื่อนที่ของมวลอากาศหรือลมที่พัดมาที่ขั้วโลกเหนือ มีผลท� ำให้น�้ ำแข็งที่ขั้วโลกละลายมากขึ้นในช่วงฤดูหนาว ซึ่งเป็นช่วงเวลาในการสะสมความหนาของแผ่นน�้ ำแข็ง ที่ขั้วโลกนั่นเอง จากข้อมูลการละลายของน�้ ำแข็งที่ขั้วโลกเหนือ ที่ผ่านมา นักวิทยาศาสตร์พบว่า ช่วงเวลาที่มีการละลายแบบ เลวร้ายและวิกฤติมากที่สุดคือในปี พ.ศ. 2550 และปี พ.ศ. 2555 ที่ต่ายน� ำเรื่องนี้มาเล่าให้คุณฟัง ก็เพราะว่า ต่ายอยาก น� ำเสนอมุมมองที่ท� ำให้คุณเห็นว่า ตอนนี้ วิทยาศาสตร์ยัง ไม่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติได้ทั้งหมดว่ามีปัจจัย อะไรบ้างที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลก ภาพ 2 การละลายของน�้ ำแข็งที่ขั้วโลกที่ท� ำให้เกิดลักษณะเป็นแอ่งน�้ ำ บริเวณพื้นผิวน�้ ำแข็ง ภาพจาก : NASA Goddard Space Flight Center, CC BY 2.0 และผลดังกล่าวจะสร้างความหายนะหรืออันตรายให้กับ สิ่งมีชีวิตบนโลกได้ขนาดไหน เมื่อใด และอย่างไร เหมือน อย่างเช่นกรณีศึกษาในงานวิจัยชิ้นนี้ นักวิทยาศาสตร์ สามารถท� ำได้แค่อธิบายว่ามันเกิดขึ้นได้อย่างไร แต่อะไร ที่ท� ำให้การเคลื่อนที่ของมวลอากาศนี้เกิดผิดปกติขึ้นนั้น ไม่สามารถอธิบายได้ และไม่สามารถโยงเรื่องนี้เข้ากับ การเกิดภาวะโลกร้ อนได้ โดยตรง แสดงให้ เห็นว่ า ธรรมชาตินั้นมีความสลับซับซ้อนมากกว่าที่มนุษย์เข้าใจ อย่างแน่นอน 1) นางสาวจิรัฐติกาล ขวัญธนนภา 450 หมู่4 ต.ลี้ อ.ลี้ จ.ล� ำพูน 51110 2) ปาริฉัตร กิมสือ 209/1 ม.3 ต.เกาะขนุน อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา 24120 ส่งสื่อให้ โรงเรียนวัดนาน้อย 126 หมู่ที่ 6 บ้านนาน้อย ต.เกาะขนุน อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา 24120 3) นายศาราวุฒิ ใสทา 112/2 หมู่ 8 ต.แม่ระมาด อ.แม่ระมาด จ.ตาก 63140 ส่งสื่อให้ โรงเรียนต� ำรวจตระเวนชายแดนบ้านแสมใหญ่ 140 ม.4 ต.สามหมื่น อ.แม่ระมาด จ.ตาก 63140
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTUzMTk1Mw==