นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 210 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

5 ปีที่ 46 ฉบับที่ 210 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561 จากขั้นกิจกรรม จะเห็นได้ว่านักเรียนได้ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Science process skills) ด้านการ สังเกต (Observing) จากภาพถ่ายที่ถ่ายด้วยเลนส์ก� ำลังขยาย 40 เท่า ท� ำให้สามารถสังเกตเห็นรายละเอียดโครงสร้างของ พืชได้มากกว่าการที่มองด้วยตาเปล่า หรือจากภาพถ่ายปกติ นอกจากนั้น นักเรียนยังได้ฝึกการจ� ำแนกประเภท (Classifying) โดยใช้โครงสร้างทางกายภาพที่แตกต่างกันของราก ล� ำต้น และใบ ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่ โดยมีครูเป็นผู้แนะน� ำ การใช้วัสดุอุปกรณ์ วิธีสังเกตความแตกต่างของพืชระหว่างด� ำเนินกิจกรรม รวมถึงให้ข้อเสนอแนะในการด� ำเนินกิจกรรมอีกด้วย ใบกิจกรรม “เรียนวิทย์จากภาพถ่ายดิจิทัล” ค� ำชี้แจง 1. ให้นักเรียนสังเกต และถ่ายภาพโครงสร้างของพืชจากสไลด์ถาวร โดยใช้เลนส์ก� ำลังขยาย 40 เท่า 2. ให้นักเรียนวาดภาพโครงสร้างของพืชลงในตาราง 3. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างโครงสร้างของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวกับพืชใบเลี้ยงคู่ แล้วเขียนสรุปในช่อง “ข้อสังเกต” โครงสร้างของพืช พืชใบเลี้ยงเดี่ยว (Monocot) พืชใบเลี้ยงคู่ (Dicot) ข้อสังเกต ใบ (leaf) 1. พืชใบเลี้ยงเดี่ยว เห็นมัดท่อล� ำเลียง ได้ชัดเจน เรียงตัวขนานกัน มีรูปร่าง คล้ายหัวกะโหลก และมองเห็นชั้น ของเนื้อเยื่อได้อย่างชัดเจน 2. พืชใบเลี้ยงคู่ มีท่อล� ำเลียงขนาดใหญ่ ที่เส้นกลางใบ ล� ำต้น (stem) 1. พืชใบเลี้ยงเดี่ยว ท่อล� ำเลียง มีการเรียงตัวแบบกระจัดกระจาย 2. พืชใบเลี้ยงคู่ ท่อล� ำเลียง มีการเรียงตัวเป็นระเบียบ ราก (root) 1. พืชใบเลี้ยงเดี่ยว ท่อล� ำเลียงเรียง เป็นวงกลม 2. พืชใบเลี้ยงคู่ ท่อล� ำเลียงอยู่ตรง ใจกลาง หมายเหตุ ตัวอย่างใบกิจกรรมที่บันทึกข้อมูล

RkJQdWJsaXNoZXIy MTUzMTk1Mw==