นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 219 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
คณะที่ปรึกษา ประธานกรรมการ สสวท. ผู้อำ�นวยการ สสวท. รองผู้อำ�นวยการ สสวท. บรรณาธิการบริหาร ธรชญา พันธุนาวนิช หัวหน้ากองบรรณาธิการ ณรงค์ศิลป์ ธูปพนม กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ ผู้อำ�นวยการสาขา/ฝ่าย ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ/ผู้เชี่ยวชาญ ขจิต เมตตาเมธา จินดาพร หมวกหมื่นไวย ดร.ดวงกมล เบ้าวัน ทิพย์วรรณ สุดปฐม เทพนคร แสงหัวช้าง นันทฉัตร วงษ์ปัญญา ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ ดร.ประวีณา ติระ ดร.ภัทรวดี หาดแก้ว ดร.รณชัย ปานะโปย ดร.สนธิ พลชัยยา ดร.สุนัดดา โยมญาติ ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ ดวงมาลย์ บัวสังข์ เทอด พิธิยานุวัฒน์ นิลุบล กองทอง รัชนีกร มณีโชติรัตน์ ศิลปเวท คนธิคามี ดร.สมชาติ ไพศาลรัตน์ สินีนาฎ จันทะภา สิริมดี นาคสังข์ สุประดิษฐ์ รุ่งศรี เจ้าของ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 924 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทร. 0-2392-4021 ต่อ 3307 (ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท. หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่าได้มีการลอกเลียนแบบหรือแอบอ้าง โดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วย จักเป็นพระคุณยิ่ง) วัตถุประสงค์ 1. เผยแพร่และส่งเสริมความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีให้แก่ครูและผู้สนใจทั่วไป 2. เผยแพร่กิจกรรมและผลงานของ สสวท. 3. เสนอความก้าวหน้าของวิทยาการในด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีที่จะสนับสนุน การศึกษาของชาติให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบัน 4. แลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับ ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี จากครูและผู้สนใจทั่วไป กระแสโค้ดดิ้ง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวิชาวิทยาการค�ำนวน กลับมาแรงอีกครั้งเมื่อ คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ก�ำหนดเป็นนโยบายเร่งด่วน ของกระทรวงฯ ที่ต้องการส่งเสริมการเรียนเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือโค้ดดิ้ง (Coding) ตั้งแต่ระดับประถมศึกษา สสวท. จะรับมือนโยบายนี้อย่างไร ติดตามได้ในคอลัมน์เลย งานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ยิ่งใหญ่ระดับชาติ ในปี 2562 แนวคิด “จุดประกาย ความคิด พัฒนาชีวิตด้วยวิทยาศาสตร์ เสริมสร้างชาติด้วยเทคโนโลยี สู่วิถีแห่งนวัตกรรม” เมื่อ วันที่ 16 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมา นิทรรศการจัดได้สมกับเป็นงานยิ่งใหญ่ระดับชาติจริงๆ ฉบับนี้เราขอพาทุกท่านไปชมงานกันอีกครั้ง ทั้งกิจกรรมในส่วนกลางและกิจกรรมของ สสวท. เผื่อท่านที่พลาดงานจะได้เก็บตกกันในนิตยสารฉบับนี้ ฉบับนี้ขอรีวิวแอปพลิเคชัน AR และ QR ส�ำหรับใช้ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้นของ สสวท. ซึ่งเป็นสื่อเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เลยจริงๆ นอกจากจะสนุก สร้างความตื่นเต้น น่าสนใจให้กับผู้เรียนแล้ว ยังเปิดโอกาสให้กับผู้เรียนได้เรียนรู้ในรูปแบบใหม่อีกด้วย ฝากติดตาม นิตยสาร สสวท. ในทุกช่องทางการติดต่อ ฉบับออนไลน์ที่ emagazine. ipst.ac.th และ Facebook.com/IPSTmag เพื่อใช้ในการติดต่อกันนะ ธรชญา พันธุนาวนิช บรรณาธิการบริหาร เปิดเล่ม สสวท. ปีที่ 47 ฉบับที่ 219 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1