นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 219 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562

13 ปีที่ 47 ฉบับที่ 219 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562 ภาพ 1 ตัวอย่างการจัดกิจกรรมเรื่องลักษณะการมองเห็น เมื่อมีวัตถุต่างๆ มากั้นแสง ที่มา หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 สสวท. วัตถุ ผลการสังเกต มองเห็นชัดเจน มองเห็นไม่ชัดเจน มองไม่เห็น กระดาษไข  แผ่นไม้  กระดาษแก้วสีต่างๆ  กระดาษแข็ง  กระจกฝ้า  แผ่นพลาสติกขุ่น  แผ่นพลาสติกใส  ส�ำหรับการน�ำกระบวนการเรียนรู้แบบ CER ไปใช้ในการเรียนการสอนในห้องเรียนวิทยาศาสตร์ เช่น การสอนเรื่อง ตัวกลางของแสง ครูอาจเริ่มต้นกิจกรรมโดยการตั้งค�ำถามกับผู้เรียนว่า “ลักษณะการมองเห็นเปลวเทียนไขแตกต่างกันอย่างไร เมื่อมีวัตถุมากั้นแสง” ในการได้มาซึ่งค�ำตอบ ผู้เรียนจะต้องรวบรวมข้อมูลผ่านการท�ำกิจกรรมเพื่อน�ำไปสู่หลักฐาน โดยอาจน�ำ วัตถุหลายๆ ชนิด เช่น แผ่นไม้ กระดาษไข กระดาษแข็ง กระจกฝ้า ไม้ขีดไฟ กระดาษแก้ว แผ่นพลาสติกขุ่น แผ่นพลาสติกใส มาลองกั้นแสง แล้วสังเกตการมองเห็นเปลวเทียนไขผ่านวัตถุที่น�ำมากั้นแสง ดังภาพ 1 ตาราง ลักษณะการมองเห็นเปลวเทียนไข เมื่อมองผ่านวัตถุต่างๆ ที่น�ำมากั้นแสง เมื่อผู้เรียนได้ท�ำกิจกรรมเรื่องตัวกลางของแสงแล้ว อาจน�ำเสนอผลการสังเกตในรูปตาราง ดังนี้

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1