นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 219 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
25 ปีที่ 47 ฉบับที่ 219 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562 1. ล�ำดับชื่อของจ�ำนวน ท�ำหน้าที่เป็นตัวแบบของ การรับรู้ (Recognition Template) หรือ โครงสร้างซึมซาบ (Assimilating Structure) ดังภาพ 2. การจับคู่แบบหนึ่งต่อหนึ่ง ระหว่างล�ำดับชื่อ ของจ�ำนวนกับวัตถุที่นับ เป็นการด�ำเนินการของจิต (Mental Operation) ดังภาพ 3. การจดจ�ำว่าวัตถุใดถูกนับแล้วและจ�ำนวนสุดท้าย ที่เปล่งเสียง เป็นผลลัพธ์ (Result) ที่เกิดจากการด�ำเนินการ ของจิต ดังภาพ เด็กที่จดจ�ำได้แต่เพียงล�ำดับชื่อของจ�ำนวน แต่ไม่ สามารถจับคู่วัตถุที่นับกับชื่อของจ�ำนวนที่เปล่งออกมาได้แบบ หนึ่งต่อหนึ่ง เด็กกลุ่มนี้จะนับวัตถุวนซ�้ำไปมา หรือนับข้ามวัตถุ บางอันไป เด็กที่มีพฤติกรรมของการนับเช่นนี้เป็นตัวอย่างของ เด็กที่ยังนับไม่เป็น (Pre-numerical Children) หรือเด็กที่ยังไม่ สามารถสร้างมโนทัศน์ของจ�ำนวน (อย่างง่าย) ได้ ซึ่งผู้เขียน เชื่อว่า มีเด็กกลุ่มนี้อยู่เป็นจ�ำนวนมากในระดับอนุบาล หรือ แม้กระทั่งระดับประถมศึกษาปีที่ 1 ส่งผลให้ขาดความพร้อม ในการเรียนรู้คณิตศาสตร์พื้นฐานอื่นๆ ต่อไป ไม่ว่าจะเป็น การบวกจ�ำนวน การลบจ�ำนวน เป็นต้น ตัวอย่างการคิดของเด็กที่นับไม่เป็นซึ่งผู้เขียน ยกมานี้ สะท้อนให้เห็นแง่ มุมของการจัดการศึกษาว่า การสอน คณิตศาสตร์ส�ำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ โดย จัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้ เด็กได้เรียนในห้องเรียนปกติ ร่วมกับเด็กปกติที่มีความพร้อม เป็นเรื่องที่เหมาะสมแล้ว หรือไม่ ถ้าค�ำตอบคือ “ไม่” แล้วประเทศไทยมีความพร้อม มากน้อยเพียงใดเกี่ยวกับศักยภาพในการดูแลเด็กกลุ่มนี้ โดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง นอกจากนี้ยังเป็นตัวอย่าง เทียบเคียงให้เห็นว่า ในห้องเรียนของนักเรียนปกติ ถ้าเรา ยึดอายุของเด็กเป็นที่ตั้งเพียงอย่างเดียว โดยไม่ค�ำนึงถึง ขีดความสามารถทางการเรียนรู้คณิตศาสตร์ควบคู่ไปด้วย เราอาจก�ำลังจัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้คณิตศาสตร์ให้ อยู่ในระดับที่สูงเกินกว่าความสามารถที่เด็กจะเอื้อมถึง นั่นอาจส่งผลให้เด็กไม่ชอบวิชาคณิตศาสตร์เลยก็เป็นได้ ดังนั้น การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กที่นับไม่เป็น ด้วยการให้เขาบวกและลบจ�ำนวน สิ่งที่เด็กท�ำได้ก็อาจเป็น เพียงแค่การพยายามจดจ�ำคู่ของตัวเลขกับผลการด�ำเนินการ ที่เกิดขึ้น โดยไม่มีความเข้าใจเกี่ยวกับการบวกและการลบ เพราะผู้ใหญ่อาจเข้าใจ (ผิด) ว่าเด็กนับเป็นแล้ว และเป็นไปได้ ที่เด็กกลุ่มนี้จะเห็นว่า 8 + 2 = 6 หรือเห็นว่า 4 – 3 = 7 เพราะเขายังนับไม่เป็นนั่นเอง ของการนับโดยทั่วไปอยู่ภายใต้เป้าหมายในการค้นหาว่าสิ่งที่ สนใจสิ่งหนึ่งๆ มีจ�ำนวนเท่าไร ซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วนคือ บรรณานุกรม Olive, J. (2001). Children’s number sequences: An explanation of Steffe’s constructs and an extrapolation to rational numbers of arithmetic. The Mathematics Educator, 11 (1), 1-9. Steffe, L. P., & Olive, J. (2010). Children’s fractional knowledge . New York: Springer. ทิศนา แขมมณี. (2551). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ . กรุงเทพมหานคร: ส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1