นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 219 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
29 ปีที่ 47 ฉบับที่ 219 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562 จากการส�ำรวจข้อมูลผู้ใช้หนังสือเรียนของ สสวท. พบว่าทั้งผู้เรียนและครู ชอบใช้สื่อเสริมต่างๆ ประกอบการเรียน การสอนทั้งในและนอกชั้นเรียน เพราะน่าสนใจ สนุก สร้างความตื่นเต้นให้กับผู้เรียน และผู้เรียนยังมีโอกาสเรียนรู้จากสื่อต่างๆ ที่มีหลายรูปแบบอีกด้วย จากการสัมภาษณ์ครูจันทร์จิรา รัตนไพบูลย์ ครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนปทุมคงคา ได้ข้อมูลดังนี้ “นักเรียนชอบและตื่นเต้นมาก เนื่องจากว่าสิ่งที่ครูอธิบายไป บางทีนักเรียนต้องจินตนาการ หรือการมองจากรูปที่ ครูวาดบนกระดาน อาจเห็นได้ไม่ชัดเจน แต่ใน AR นักเรียนสามารถหยุดเพื่อศึกษาให้ละเอียดขึ้นตามที่ต้องการ สามารถดู ได้ทุกมุม เพราะฉะนั้นเด็กๆ จะตื่นเต้น” สสวท. ก�ำลังจัดท�ำแอปพลิเคชัน AR ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชื่อว่า “AR สสวท. วิทย์มัธยมต้น” โดยแอปพลิเคชันนี้ ได้รวบรวม AR วิชาวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไว้ ซึ่งจะประชาสัมพันธ์ให้ทราบทาง Facebook ชื่อ “สาขา วิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนต้น สสวท.” และติดตาม AR ระดับประถมศึกษาได้ทาง Facebook ชื่อ “สาขาวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษา สสวท.” ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน เพื่อการเรียนรู้ARได้ที่Appstore และ Play store โดยค้นหาค�ำว่า "IPST SciM1" บรรณานุกรม Elrick, L. (2018). 4 Types of Learning Styles: How to Accommodate a Diverse Group of Students . Retrieved April 5, 2019, from https:// www.rasmussen.edu/degrees/education/blog/types-of-learning-styles/. ทิศนา แขมมณี. (2551). ลีลาการเรียนรู้-ลีลาการสอน. วารสารราชบัณฑิตยสถาน, 33 (1), 68-94. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) . พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2 ตามมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) . กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1