นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 219 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562

35 ปีที่ 47 ฉบับที่ 219 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562 กิจกรรม ‘รู้ความถนัดด้วยดัชนี’ เป็นกิจกรรมง่ายๆ ที่เหมาะกับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลายเป็นต้นไป ซึ่งเริ่มรู้จักเรื่องอัตราส่วนและสามารถเขียนหนังสือได้อย่างคล่องแคล่วแล้ว โดยมีอุปกรณ์เพียงปากกาหรือดินสอ กับใบกิจกรรม ‘รู้ความถนัดด้วยดัชนี’ ดังแสดงในภาพ 1 ซึ่งเป็นกระดาษที่มีช่องรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเรียงกัน 40 รูป x 25 แถว และมีขั้นตอน ในการด�ำเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ 1. ครูแจกใบกิจกรรม ‘รู้ความถนัดด้วยดัชนี’ ให้นักเรียนคนละ 1 ใบ และให้นักเรียนเตรียมปากกาหรือดินสอไว้ 2. ครูให้นักเรียนใช้มือข้างที่ตนเองถนัด โดยจะเป็นมือขวาหรือ มือซ้ายก็ได้ ใช้ปากกาหรือดินสอเขียนกากบาทเติมในช่องรูป สี่เหลี่ยมจัตุรัส เรียงกันไปอย่างรวดเร็วแต่สวยงามให้ได้จ�ำนวน มากที่สุด โดยครูจับเวลา 1 นาที 3. เมื่อหมดเวลาแล้วให้นักเรียนวางปากกาหรือดินสอ แล้วนับจ�ำนวน กากบาทที่เขียนได้ ซึ่งช่องรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสแต่ละชุดจะมีจ�ำนวน 20 ช่อง เพื่อความสะดวกในการนับ เมื่อนับเสร็จแล้วให้นักเรียน บันทึกจ�ำนวนกากบาทที่เขียนได้ไว้บริเวณที่ว่างตรงขอบกระดาษ 4. หลังจากนั้นให้นักเรียนพลิกกลับหัวกลับหางใบกิจกรรม ใช้มือข้าง ที่ตนเองไม่ถนัดหยิบปากกาหรือดินสอ เพื่อเตรียมเริ่มต้นเขียน กากบาทในช่องรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสอีกด้านหนึ่งของกระดาษ 5. ครูจับเวลา 1 นาทีเท่ากัน แล้วให้นักเรียนใช้มือข้างที่ไม่ถนัดเขียน รูปกากบาทในช่องรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เรียงกันไปอย่างรวดเร็ว แต่สวยงามให้ได้จ�ำนวนมากที่สุด 6. เมื่อหมดเวลาแล้วให้นักเรียนวางปากกาหรือดินสอ แล้วนับจ�ำนวน กากบาทที่เขียนได้ เมื่อนับเสร็จแล้วให้นักเรียนบันทึกจ�ำนวน กากบาทที่เขียนได้ไว้บริเวณที่ว่างตรงขอบกระดาษ เมื่อนักเรียนได้จ�ำนวนกากบาทที่เขียนได้ด้วยมือข้างที่ถนัด และจ�ำนวนกากบาทที่เขียนได้ด้วยมือข้างที่ไม่ถนัดแล้ว ให้นักเรียนค�ำนวณหาค่าดัชนีความถนัดของมือโดยใช้สูตร ดังต่อไปนี้ นั่นคือดัชนีความถนัดของมือคืออัตราส่วนระหว่างจ�ำนวนกากบาทที่เขียนได้ด้วยมือข้างที่ไม่ถนัด กับจ�ำนวนกากบาท ที่เขียนได้ด้วยมือข้างที่ถนัด นั่นเอง ซึ่งจ�ำนวนกากบาทที่เขียนได้โดยมือข้างที่ไม่ถนัด ควรจะมีค่าน้อยกว่าจ�ำนวนกากบาท ที่เขียนได้โดยมือข้างที่ถนัดเสมอ ส�ำหรับการค�ำนวณค่าอัตราส่วน อนุญาตให้นักเรียนใช้เครื่องค�ำนวณ แอปพลิเคชัน ในโทรศัพท์มือถือหรือสมาร์ตโฟน ช่วยในการค�ำนวณได้ สมมติว่า เด็กชายกรถนัดใช้มือข้างขวา สามารถเขียนกากบาทด้วยมือขวาได้ 63 ช่อง และเขียนกากบาท ด้วยมือซ้ายได้ 31 ช่อง จะค�ำนวณค่าดัชนีความถนัดของมือของเด็กชายกร ได้ดังนี้ ภาพ 1 ใบกิจกรรม ‘รู้ความถนัดด้วยดัชนี’ ดาวน์โหลด ใบกิจกรรม ‘รู้ความถนัดด้วยดัชนี’ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ ⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠⧠ จ�ำนวนกากบาทที่เขียนได้โดยมือข้างที่ไม่ถนัด จ�ำนวนกากบาทที่เขียนได้โดยมือข้างที่ถนัด ดัชนีความถนัดของมือ = ดัชนีความถนัดของมือของเด็กชายกร = = จ�ำนวนกากบาทที่เขียนได้โดยมือซ้ายของเด็กชายกร จ�ำนวนกากบาทที่เขียนได้โดยมือขวาของเด็กชายกร 31 63 bit.ly/219-P1

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1