นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 219 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562

45 ปีที่ 47 ฉบับที่ 219 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562 ซากผลิตภัณฑ์ โดยค�ำนวณในรูปของคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า กิจกรรมฐานที่ 3 ใครท�ำร้ายภูมิอากาศโลก เน้นให้ ผู้ร่วมกิจกรรมเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับปรากฏการณ์เรือนกระจก ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ตามธรรมชาติที่ท�ำให้สิ่งมีชีวิตบนโลกด�ำรงชีวิต อยู่ได้ แต่พฤติกรรมของมนุษย์ส่งผลให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นกว่าในอดีตอย่างรวดเร็ว โดยการปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ สู่ชั้นบรรยากาศซึ่งท�ำให้บรรยากาศเก็บกักความร้อนไว้ได้มากขึ้น จึงส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตบนโลก กิจกรรม ฐานที่ 4 สิ่งที่คุณรู้เกี่ยวกับภัยพิบัติ เป็นกิจกรรมที่ท�ำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความเข้าใจและทราบว่าภัยพิบัติที่เกิดขึ้นนั้น มีทั้ง เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และจากการกระท�ำของมนุษย์ และภัยพิบัติมีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก เช่น อุทกภัย ภัยแล้ง ดินถล่ม อากาศร้อนจัดอย่างรุนแรง ระดับน�้ำในแหล่งน�้ำ และพื้นที่ชายฝั่งเกิดการเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิของน�้ำทะเลเพิ่มขึ้น ภัยพิบัติ ปรากฏการณ์ต่างๆ เหล่านี้ จะส่งผลต่อการด�ำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตบนโลก กิจกรรมฐานที่ 5 ต้นไม้รอบตัวเรา เป็นการเรียนรู้ การวัดความสูงและเส้นรอบวงต้นไม้ ด้วยอุปกรณ์ และวิธีการตรวจวัดที่ถูกต้องตามหลักวิธีการตรวจวัด ของโครงการ GLOBE พร้อมทั้งส�ำรวจสิ่งแวดล้อม รอบๆ โรงแรม จากนั้นน�ำข้อมูลที่ได้มาสร้างแผนที่ ที่มีความถูกต้องในเรื่องทิศทาง และเหมาะสมในเรื่อง ของอัตราส่วน แล้วสรุปให้ได้ว่า ต้นไม้เป็นแหล่งส�ำคัญ ในการดูดซับคาร์บอน กิจกรรมฐานที่ 6 ล่าตัวอ่อน ลูกน�้ำยุงลาย เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เรียนรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกอย่างรวดเร็ว บรรณานุกรม ประชากรโลก. สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2562, จาก https://www.google.com/publicdata/explore?ds=d5bncppjof8f9_&met_y=sp_pop_tot- l&hl=th&dl=th. ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ (ฉบับย่อ). สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2562, จาก file:///C:/Users/nisae/Downloads/NS_SumPlanOct2018.pdf. MTEC. การประเมินวัฏจักรชีวิต. สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2562, จาก http://www2.mtec.or.th/website/backend/app/filemn/uploads/LCA.pdf. มูลนิธิสืบนาคะเสถียร. รายงานสถานการณ์ป่าไม้ไทย 2560-2561. สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2562, จาก https://www.seub.or.th/document/ สถานการณ์ป่าไม้ไทย/รายงานสถานการณ์ป่าไม้ไ-6/. ภาพ 3 ดินถล่ม เป็นตัวอย่างหนึ่งจากภัยพิบัติ และมีรูปแบบที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เช่น อุณหภูมิอากาศสูงขึ้นผิดปกติ ก่อให้เกิดการแพร่กระจายของโรคต่างๆ และการเพิ่ม จ�ำนวนของยุงในหลายพื้นที่ทั่วโลก ซึ่งน�ำไปสู่การเกิดโรคระบาดใหม่ๆ ที่มียุงเป็นพาหะ กิจกรรมฐานที่ 7 การเดินทางของ คาร์บอน เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเข้าใจ และสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณคาร์บอนที่สะสมใน แหล่งที่อยู่ต่างๆ รวมถึงการเปลี่ยนแหล่งที่อยู่ของคาร์บอนจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง พร้อมกับเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของ วัฏจักรคาร์บอนก่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรมกับหลังการปฏิวัติอุตสาหกรรม

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1