นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 220 กันยายน - ตุลาคม 2562

คณะที่ปรึกษา ประธานกรรมการ สสวท. ผู้อำ�นวยการ สสวท. รองผู้อำ�นวยการ สสวท. บรรณาธิการบริหาร ธรชญา พันธุนาวนิช หัวหน้ากองบรรณาธิการ ณรงค์ศิลป์ ธูปพนม กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ ผู้อำ�นวยการสาขา/ฝ่าย ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ/ผู้เชี่ยวชาญ ขจิต เมตตาเมธา จินดาพร หมวกหมื่นไวย ดร.ดวงกมล เบ้าวัน เทพนคร แสงหัวช้าง นันทฉัตร วงษ์ปัญญา ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ ดร.ประวีณา ติระ ดร.ภัทรวดี หาดแก้ว ดร.รณชัย ปานะโปย ดร.สนธิ พลชัยยา ดร.สุนัดดา โยมญาติ ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ ดวงมาลย์ บัวสังข์ เทอด พิธิยานุวัฒน์ นิลุบล กองทอง รัชนีกร มณีโชติรัตน์ ศิลปเวท คนธิคามี ดร.สมชาติ ไพศาลรัตน์ สินีนาฎ จันทะภา สิริมดี นาคสังข์ สุประดิษฐ์ รุ่งศรี เจ้าของ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 924 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทร. 0-2392-4021 ต่อ 3307 (ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท. หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่าได้มีการลอกเลียนแบบหรือแอบอ้าง โดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วย จักเป็นพระคุณยิ่ง) วัตถุประสงค์ 1. เผยแพร่และส่งเสริมความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีให้แก่ครูและผู้สนใจทั่วไป 2. เผยแพร่กิจกรรมและผลงานของ สสวท. 3. เสนอความก้าวหน้า​ของวิทยาการในด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีที่จะสนับสนุน การศึกษา​ของชาติให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบัน 4. แลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับ ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี จากครูและผู้สนใจทั่วไป ตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563 ห้างสรรพสินค้าและร้านสะดวกซื้องดแจกและจ�ำหน่าย ถุงพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง (ยกเว้นพวกถุงร้อนใส่อาหาร) รวมทั้งรณรงค์ให้ใช้ถุงผ้าแทน เพื่อลดวิกฤตขยะในทะเล โดยสหประชาชาติจัดให้ไทยติดอันดับ 1 ใน 10 ประเทศที่ทิ้งขยะพลาสติก ลงทะเลมากที่สุด ปัจจุบันขยะพลาสติกจ�ำนวนมากถูกก�ำจัดอย่างไม่ถูกต้อง ปล่อยทิ้งและพัดลงสู่ทะเล ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศทะเล โดยเฉพาะไมโครพลาสติกที่ปนเปื้อนเข้าสู่ระบบเนื้อเยื่อของ สัตว์ทะเลและเป็นอันตรายต่อสัตว์ทะเล ในขณะเดียวกันก็พบว่าไมโครพลาสติกปนเปื้อนอยู่ใน กระเพาะของปลาทู ซึ่งเมื่อเรารับประทานจึงเป็นอันตรายต่อสุขภาพของเรา ถึงเวลาที่ทุกคนต้อง ตระหนักและช่วยกันลด ละ เลิก การใช้พลาสติก หรือใช้ให้น้อยที่สุด สร้างจิตส�ำนึกและปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการใช้พลาสติกในชีวิตประจ�ำวัน ใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า ว่าแต่..ไมโครพลาสติกคืออะไร แล้วการเลือกใช้พลาสติกที่สามารถย่อยสลายได้ง่ายใน ธรรมชาติจะไม่มีพิษต่อพืชและสัตว์จริงหรือ “พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ หรือ Biodegradable plastic” จะเป็นอีกหนึ่งแนวทางที่จะช่วยลดมลภาวะได้หรือไม่ ติดตามได้ในฉบับนี้ เราก�ำลังจะก้าวเข้าสู่ยุคที่เทคโนโลยีเกิดใหม่จะขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงทาง อุตสาหกรรม (Disrupting Industries) ท�ำให้การมีสมรรถนะทางดิจิทัล (Digital Competence) จึงเป็นสิ่งส�ำคัญ การศึกษาด้านนี้จึงเป็นสิ่งที่ท้าทายส�ำหรับครู โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสอนโค้ดดิ้ง ในโรงเรียนจะเป็นการสร้างทักษะในการวางแผน การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ส่งเสริมการใช้ตรรกะในการแก้ปัญหา สร้างคนให้เกิดกระบวนการคิดและทันต่อการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี ซึ่งเป็นทักษะที่ส�ำคัญส�ำหรับการเตรียมพลเมืองในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลที่ก�ำลังมาถึง นิตยสาร สสวท. ฉบับออนไลน์อ่านได้ก่อนใครได้ที่ emagazine.ipst.ac.th และช่องทาง ติดต่อเราที่ fb.com/ipstmag ธรชญา พันธุนาวนิช บรรณาธิการบริหาร เปิดเล่ม สสวท. ปีที่ 47 ฉบับที่ 220 กันยายน - ตุลาคม 2562

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1