นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 220 กันยายน - ตุลาคม 2562
6 นิตยสาร สสวท 1. ติดตั้งชุดกรองสุญญากาศ โดยวางกรวยกรอง บนขวดรูปชมพู่ แล้วติดสายปั๊มสุญญากาศ เข้ากับขวด 2. น�ำกระดาษกรองไปชั่งและจดบันทึกน�้ำหนักไว้ 3. ใช้ปากคีบคีบกระดาษกรองวางบนกรวยกรอง ดังภาพ 6 - 7 (อย่าจับกระดาษกรองด้วยมือ เพราะจะท�ำให้กระดาษกรองปนเปื้ อนสิ่ง สกปรก) วิธีทดลอง 4. ติดตั้งอุปกรณ์การกรองให้เรียบร้อย 5. เทน�้ำตัวอย่างเทลงในกรวยกรอง จากนั้นเปิด เครื่องปั๊ม เพื่อให้น�้ำไหลผ่านกระดาษกรอง ออกมา ดังภาพ 8 6. เมื่อกรองน�้ำตัวอย่างหมดแล้ว ให้ปิดเครื่องปั๊ม และรอสักครู่ 7. ใช้คีมจับที่ขอบกระดาษกรองและยกขึ้นอย่าง ระมัดระวัง แล้ววางกระดาษกรองไว้ในจาน เพาะเชื้อ ดังภาพ 9 – 11 8. น�ำกระดาษกรองที่ได้ไปอบ ที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง เพื่อระเหย น�้ำออก จากนั้นน�ำกระดาษกรองมาชั่งน�้ำหนัก อีกครั้ง จดบันทึกน�้ำหนักไว้ 9. หาปริมาณสิ่งปนเปื้อนหรือไมโครพลาสติกที่ พบได้จากน�้ำหนักกระดาษกรองที่เปลี่ยนไป 10. น�ำกระดาษกรองที่ได้ไปตรวจสอบผ่านกล้อง จุลทรรศน์ เพื่อสังเกตรูปร่าง ลักษณะ สี ของ ไมโครพลาสติก ดังภาพ 12 8 9 10 6 7 11 ภาพ 12 ประเภทของไมโครพลาสติก : (A) เส้นใยสังเคราะห์ (B) เศษพลาสติก (C) แผ่นฟิล์ม (D) ไมโครบีดส์
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1