นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 221 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562
10 นิตยสาร สสวทิ ต ประเภทอาหาร ไอติมหมุน ขนมครกไข่นกกระทา ประเภท ช่�อ สาขาวิชา ฟิิสิกส์ เคมี ชีววิทยา อาหาร ไอติมหมุน ไข่นกกระทา นำ��จรวด เคร่�องเล่น ม้าหมุน รถบั�มพ์ มอเตอร์ไซด์ไต่ถัง สไลด์เดอร์ เกมยิงปืน ตาราง 1 เครื่องเล่นและอาหารในงานวัดที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ในสาขาวิชาต่างๆ 1. 2. การที่่ำ��อัดลมหรือนำ��หวานแข็งตัวเกิดจากการเติมเกลือลงใน ถังนำ��แข็งที่่ำ�หน้าที่หล่อเย็น เนื่องจากเกลือต้องอาศัยความร้อนจาก สิ่งแวดล้อมเพื่อทำ�ให้ตัวมันเองละลาย ซึ่่�งในที่่�นเกลือจะดูดความร้อน จากนำ��แข็งจากตัวถัง ทำ�ให้นำ��ในถังนำ��แข็งมีอุณหภูมิตำ��กว่าเดิม จึงทำ�ให้ นำ��หวานในหลอดที่แช่ในถังนำ��แข็งแข็งตัวเป็นไอติม ตามสมบัติคอลลิเกทีฟ (Colligative Properties) ที่่่า จุดเยือกแข็งของสารละลายลดลงตามปริมาณ ตัวถูกละลาย ซึ่่�งจะส่งผลให้จุดเยือกแข็งของสารละลายตำ��กว่าจุดเยือกแข็ง ของตัวทำ�ละลายบริสุทธิ� ไข่นกกระทาเกิดการเปลี่ยนแปลงจากไข่ดิบเป็นไข่สุก เนื่องจาก ความร้อนที่ให้กับไข่ทำ�ให้เกิดการสูญเสียสภาพธรรมชาติของโปรตีน (Protein Denaturation) โดยความร้อนทำ�ให้พันธะไฮโดรเจนของโปรตีน ถูกทำ�ลาย โครงสร้างจึงเกิดการคลายตัวเปลี่ยนแปลงเป็นโครงสร้างใหม่ การสูญเสียสภาพธรรมชาติของโปรตีนอาจเกิดขึ้นได้จาก ความร้อน กรด-เบส หรือโลหะหนัก การเขย่าถังไอติมมีผลต่อการถ่ายเทความร้อนที่อยู่ในนำ��อัดลมหรือนำ��หวานออกไปอย่างรวดเร็ว อีกทั้งตัววัสดุที่ใส่ นำ��อัดลมหรือนำ��หวาน และถังที่หมุนเป็นโลหะซึ่่�งมีสมบัติถ่ายเทความร้อนได้ดี
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1