นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 221 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

20 นิตยสาร สสวทิ ต สามารถศึกษาเกี่ยวกับการใช้กะโหลกและกระดูกเชิงกรานตำ�แหน่งต่างๆ ในการระบุเพศ ในบทความเรื่อง “โครงกระดูกบอกเพศได้” ได้ที่ http://biology.ipst.ac.th/?p=985 3. ผู้สอนให้ความรู้เพิ่มเติมว่า เมื่อศึกษาเรณูหรือตัวอย่างอื่นๆ ด้วยเครื่องมือต่างๆ เช่น แว่นขยาย กล้องจุลทรรศน์ ใช้แสงแบบสเตอริโอ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงเชิงประกอบ และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM) จะเห็นภาพที่่ี รายละเอียดแตกต่างกันจากน้อยไปมากตามลำ�ดับ ผู้้�ทใช้เครื่องมือจะต้องเลือกใช้ตามความเหมาะสม และอาจให้ผู้เข้าร่วม กิจกรรมศึกษาภาพเรณูที่่ึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ชนิดต่างๆ และตอบคำ�ถามว่าในแต่ละภาพน่าจะศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ แบบใด และมีรายละเอียดแตกต่างกันอย่างไร ในกิจกรรมนี้ให้ใช้เครื่องมืออย่างง่ายคือ แว่นขยาย ในการสำ�รวจตรวจสอบ ตัวอย่างต่างๆ ที่่ีขนาดใหญ่พอสมควร เช่น เมล็ดพืช เส้นใยผ้า และรูปแบบการทอ สำ�หรับการศึกษาเรณูที่่ีขนาดเล็กมาก ต้องศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ แต่เนื่องจากไม่สามารถใช้กล้องจุลทรรศน์ระหว่างการทำ�กิจกรรมได้ จึงพิมพ์ภาพเรณูเป็น ภาพขนาดเล็กแล้วติดไว้ที่่้า ซึ่่�งต้องใช้แว่นขยายส่องเพื่อศึกษารายละเอียดแล้วนำ�ไปเปรียบเทียบกับข้อมูลอ้างอิง 4. ผู้สอนทบทวนความรู้โดยตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับโครงกระดูกของมนุษย์ ซึ่่�งประกอบด้วยกระดูกต่างๆ เช่น กะโหลกศีรษะ กระดูกซี่่�โครง แขน ขา และกระดูกเชิงกราน แล้วให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช้กระดูกเชิงกรานในการระบุเพศ กระดูก เชิงกรานของเพศชายและเพศหญิงมีความแตกต่างกัน สามารถใช้ระบุเพศได้ 3 ตำ�แหน่ง แต่เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่ อยู่ในระดับประถมศึกษาสังเกตได้ง่ายจึงให้สังเกตเพียงจุดเดียวคือ ตรงมุมบริเวณกระดูกหัวหน่าวด้าน้ ายและขวาชนกัน โดยที่กระดูกเชิงกรานของเพศหญิงมีรูปแบบที่เหมาะสมกับการเดินรวมทั้งการคลอดบุตร จะมีความกว้างมากกว่า 90 องศา ในขณะที่เชิงกรานของผู้ชายมีรูปแบบที่เหมาะสมกับการเดินเพียงอย่างเดียว มีความกว้างของมุมที่่้อยกว่า 90 องศา ดังภาพ 6 เพศชาย < 90 องศา เพศหญิง > 90 องศา ภาพ 6 กระดูกเชิงกรานของเพศชายและเพศหญิง ที่มา https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Male_vs_female_pelvis_LT.PNG

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1