นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 221 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

21 ปีที่ 48 ฉบับที่ 221 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562ี ที่ ั บี่ ิ กั น 5. แบ่งผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นกลุ่มละ 2-3 คน แล้วแจกใบกิจกรรม กล่องที่ใส่โครงกระดูกและสิ่งของต่างๆ พร้อมทั้งภาพอ้างอิงสำ�หรับใช้เปรียบเทียบ จำ�ลองสถานการณ์ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสวมบทบาทเป็นนักโบราณคดี มีภารกิจขุดสุสานเพื่อค้นหามัมมี่และสิ่งของต่างๆ แล้วนำ�มาศึกษาด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ภายในกล่องจะมี โครงกระดูกที่่่อด้วยผ้า รูปเรณูดอกไม้ต่างๆ ติดอยู่บนผ้า เมล็ดพืช และอัญมณี ทั้งหมดฝังอยู่ในเมล็ดโฟม หลังการขุด ให้นำ�โครงกระดูกและสิ่งของต่างๆ ไปวางในถาด ควรตรวจสอบจำ�นวนสิ่งของทีุ่่ดขึ้นมาว่าครบถ้วนตามข้อมูลที่่้องศึกษา โดยเทียบกับใบกิจกรรม 7. วางกระดูกทั้ง 7 ชิ้นบนกระดานแล้วต่อโครงกระดูกให้ถูกต้อง วิเคราะห์ว่ากระดูกทีุ่่ดได้เป็นเพศชายหรือ เพศหญิงโดยเทียบกับข้อมูลอ้างอิง และพิจารณาจากกระดูกเชิงกราน บันทึกข้อมูลลงในใบกิจกรรม และใช้โครงกระดูกเป็น แบบเพื่อวาดรูปลงในใบกิจกรรม ถ้าผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นเด็กเล็กอาจจะไม่สามารถต่อโครงกระดูกได้ถูกต้องภายในครั้งแรก อาจมีความผิดพลาด เช่น ต่อกระดูกเชิงกรานสลับทิศทาง ต่อแขนหรือขาสลับด้าน้ ายขวา ผู้สอนสามารถแนะนำ�เพิ่มเติมได้ โดยให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพิจารณาจากร่างกายของตนเองเปรียบเทียบกับโครงกระดูก เช่น ให้ยืนกางแขนไปด้านข้างแล้ว พิจารณาว่านิ้วหัวแม่มือชี้้�ขนด้านบนหรือด้านล่าง หรือให้ยืนแล้วพิจารณาว่าปลายเท้าทั้ง 2 ข้างชี้ออกไปทางด้านนอก หรือเข้าด้านใน ชุดโครงกระดูกที่ใช้ในการทำ�กิจกรรมเป็นแบบแม่เหล็กที่สามารถดึงออกแล้วนำ�ไปต่อใหม่ได้ จึงสามารถ ปรับแก้จนสามารถต่อโครงกระดูกได้ถูกต้องทั้งหมดได้

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1