นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 221 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

42 นิตยสาร สสวทิ ต ได้้เี นรู้้�อะไ าง าก GLOBE International Youth Camp ฐานที่่� 1 : Physical Wastewater Properties ฐานที่่� 2 : Climate and Air Monitoring นักเรียนและครูที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพนำ��และดินจากบ่อนำ��เข้า และบ่อสุดท้ายก่อนปล่อย ออกสู่แหล่งนำ��ธรรมชาติ รวมทั้งตรวจวัดปริมาณรังสีดวงอาทิตย์ที่่่องผ่านมายังพื้นโลกและสะท้อนกลับ ซึ่่�งจะส่งผลต่อ การเจริญของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในนำ��และดิน โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมดจะถูกแบ่งเป็น 3 กลุ่ม เพื่อทำ�กิจกรรมแบบวนฐาน ใน 3 ฐาน กิจกรรมมีดังนี้ เป็นการเรียนรู้และลงมือปฏิิบัติการตรวจวัดข้อมูลคุณภาพนำ �� ได้แก่ สีและกลิ่นของนำ �� อุณหภูมิของนำ �� ปริมาณออกิ เจนที่ละลายในนำ�� ค่า pH ปริมาณของแข็งที่ละลายในนำ�� (Total Dissolved Solids: TDS) ค่าการนำ�ไฟฟ้าของนำ�� และค่าความเค็มของนำ�� รวมทั้งตรวจวัดค่า pH ในดิน และค่ารีดอก์ โพเทนเชียล (Oxidation Reduction Potential: ORP) ซึ่่�งเป็นค่าที่เกิดจากปฏิิกิริยาออกิ เดชันและรีดักชันในดิน สามารถใช้บ่งบอกสภาพ ของปฏิิกิริยาชีวเคมี ที่เกิดขึ้นในบริเวณที่เก็บตัวอย่างดินมาวิเคราะห์ เช่น บริเวณนั้นอาจจะเกิดปฏิิกิริยาไนตริฟิเคชัน (Nitrification) ปฏิิกิริยาการเกิดไฮโดรเจนั ลไฟด์ (Hydrogen sulfide Formation) โดยนักเรียนได้ตรวจวัดข้อมูล คุณภาพนำ��ของบ่อที่่ำ��เสียชุมชนไหลเข้าระบบ เปรียบเทียบกับคุณภาพนำ��ในบ่อสุดท้ายที่่่านการบำ�บัดแล้ว ก่อนปล่อยออกสู่่่าชายเลน ส่วนดินจะศึกษาประสิทธิภาพในการดูดั บสารที่่ีประจุในดิน เป็นการเรียนรู้้ิธีการตรวจวัดรังสีดวงอาทิตย์ด้วย ไพรานอมิเตอร์ (Pyranometer) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ปริมาณ รังสีที่่่องลงมายังพื้นดินและสะท้อนกลับออกไปนอกโลก และ เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในนำ��กับรังสีดวงอาทิตย์ เช่น สาหร่ายใช้รังสีดวงอาทิตย์ในการสังเคราะห์ด้วยแสง ทำ�ให้เกิด ออกิ เจน และจุลินทรีย์ในนำ��ใช้ออกิ เจนในการย่อยสลายสาร อินทรีย์ต่างๆ ในนำ�� ภาพ 3 ให้ความรู้เกี่ยวกับการตรวจวัดคุณภาพนำ �� และดิน ภาพ 5 การตรวจวัดปริมาณรังสีดวงอาทิตย์ด้วยไพรานอมิเตอร์ ภาพ 4 การตรวจวัดคุณภาพนำ��และดิน ในบ่อที่่่านการบำ�บัดแล้วก่อนปล่อย ออกสู่่่าชายเลน

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1