นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 221 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

45 ปีที่ 48 ฉบับที่ 221 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562ี ที่ ั บี่ ิ กั น สะเต็็มศึึกษากับกิจกรรม็ มึ กั บิ จ “บ้านส้� ายุปาบึก”้ า้ �ุ ปึ ก จากเหตุการณ์พายุปาบึกที่่ัดถล่มภาคใต้ในช่วงต้นปี พ.ศ. 2562 ที่่่านมา ได้สร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน ของผู้คนจำ�นวนมาก ข้อมูลจากกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยรายงานว่า ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 265,132 ครัวเรือน บ้านเรือนเสียหายทั้งหลัง 405 หลัง และเสียหายบางส่วน 53,008 หลัง (กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย, 2562) นอกจากพายุโ นร้อนปาบึกแล้ว ภาคใต้ของไทยยังมีเหตุการณ์พายุพัดถล่มที่สร้างความเสียหายแก่บ้านเรือนอยู่หลายครั้ง อาทิ พายุไต้ฝุ่น "ทุเรียน" (DURIAN) ปี พ.ศ. 2549 พายุไต้ฝุ่น "ลินดา" (LINDA) ปี พ.ศ. 2540 พายุไต้ฝุ่น "เกย์" (GAY) ปี พ.ศ. 2532 และพายุโ นร้อน "แฮเรียต" (HARRIET) ในปี พ.ศ. 2505 จากเหตุการณ์ดังกล่าว ผู้เขียนในฐานะครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์ จึงนำ�สถานการณ์ใกล้ตัวเหล่านี้มาใช้นำ�เข้า สู่บทเรียนเรื่อง “พายุ” ซึ่่�งเป็นหนึ่งในเนื้อหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้้ัด กลุ่มสาระการเรียนรู้้ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำ�หนดให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ได้เรียนรู้ ซึ่่�งในกรณีนี้้�ผเขียนได้ใช้กิจกรรมตามแนวทางสะเต็มศึกษา ผ่านวิธีการสอน แบบ 6E Learning by Design™ Model (Burke, 2014) กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำ�นวน 35 คน ในโครงการ ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ของโรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล ซึ่่�งเป็นห้องเรียนที่่ีความหลากหลายด้าน ศาสนาและวัฒนธรรม โดยมีทั้งนักเรียนไทยพุทธและไทยมุสลิมเรียนร่วมกัน บางครั้งผู้เขียนต้องใช้ภาษามลายูในการ ขยายความบางประเด็นที่่ักเรียนไทยมุสลิมไม่เข้าใจ นักเรียนส่วนใหญ่ในห้องมีนิสัยขี้อาย ไม่กล้าแสดงออก โดยเฉพาะเมื่อต้อง นำ�เสนองานหน้าชั้นเรียน ซึ่่�งที่่่านมาหากใช้วิธีการสอนแบบบรรยายและอภิปราย พบว่านักเรียนมักไม่กล้าแสดงความคิดเห็น จึงต้องใช้วิธีการสุ่มชื่อเพื่อให้นักเรียนตอบคำ�ถาม อย่างไรก็ดีเมื่อจัดกิจกรรมตามแนวทางสะเต็มศึกษา สังเกตว่านักเรียน รู้้ึกสนุกและให้ความร่วมมือในการทำ�กิจกรรมเป็นอย่างดี โดยกิจกรรมที่่� ผเขียนใช้มีรายละเอียดดังนี้ บทนำ� กิจกรรมสะเต็็มศึึกษา บ้านส้� ายุปาบึก กิจกรรมการเรียนรู้ บ้านสู้พายุปาบึก มีจุดประสงค์เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้แนวคิดเรื่องพายุ ผ่านกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม ที่่ักเรียนรายกลุ่มได้รับโจทย์ให้ออกแบบบ้านจำ�ลองที่่ีความแข็งแรงทนทาน สามารถรับมือกับพายุได้ โดยนักเรียนจะได้เรียนรู้้่านการบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรม ดังภาพ 1 และมีขั้นตอน การสอนดังนี้ การเรียนกระตุ�น ความคิด จีระวรรณ เกษสิงห์ • ผู้้่วยศาสตราจารย์ สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อับดุลยามีน หะยีขาเดร์ • ครูผู้้่วย โรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล อำ�เภอเมือง จังหวัดปัตตานี

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1