นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 221 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562
46 นิตยสาร สสวทิ ต ภาพ 1 แผนภาพแสดงการบูรณการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรรมศาสตร์ วิิทยาศาสตร์์ - ก ะบ นกา เกิดพายุ - ผลก ะทบท่�เกิดจากพายุ ท่�มีีต่อชีีวิิตและ สิ�งแ ดล้อ คณิิตศาสตร์์ - รููปท งเ ขาคณิิต - กา หาปริิ าตู ปท ง เ ขาคณิิต กิจก สะเต็มศึึกษา "บ้านสู้พายุปาบึก" เทคโนโลยี กา ออกแบบบ้านสาิ ติ โดยใช้้เว็็บไซด์ Tinkercad วิิศ ก ศาสตร์์ กา ออกแบบบ้านท่� สา า ถทนต่อ พายุปาบึกจำ�ลอง 1. ขั�นสร้างความสนใจ (Engage) เปิดประเด็นเพื่อกระตุ้นความสนใจผู้เรียนในเรื่องพายุ โดยให้นักเรียนดูวีดิทัศน์ การรายงานข่าวสถานการณ์พายุปาบึกที่่ัดถล่มภาคใต้ จากนั้นให้นักเรียนรายกลุ่มศึกษาบทความเรื่อง “พายุโ นร้อนปาบึก PABUK (1901)” (ศูนย์ภูมิอากาศ กองพัฒนาอุตุนิยมวิทยา กรมอุตุนิยมวิทยา, 2562) และตอบคำ�ถามดังนี้ - นักเรียนรู้้ักพายุปาบึกหรือไม่ พายุปาบึกมีลักษณะอย่างไร - นักเรียนทราบหรือไม่ว่า เพราะเหตุใดพายุนี้้ึงได้ชื่อว่า ปาบึก - เหตุการณ์พายุปาบึกเกิดขึ้นที่ใดบ้าง และเกิดขึ้นเมื่อใด - ผลกระทบหรือความเสียหายที่เกิดขึ้นจากพายุปาบึกมีอะไรบ้าง หลังจากที่่ักเรียนร่วมกันหาคำ�ตอบจากคำ�ถามข้างต้นแล้ว ครูให้ตัวแทนกลุ่มนำ�เสนอคำ�ตอบแต่ละข้อ โดยเมื่อ กลุ่มแรกตอบคำ�ถามข้อที่ 1 เสร็จแล้ว ผู้เขียนจะกระตุ้นให้กลุ่มอื่นฟังและคิดตาม โดยถามว่า “ นักเรียนเห็นด้้วยกับคำ บ ข งกลุ�มที� 1 หรืือไม่่หรืือมีประเด็็นใดที่�้ งการเพิ�มเิ มบ้าง ” ทำ�เช่นนี้จนครอบคลุมทุกข้อคำ�ถาม ถึงตอนนี้้ักเรียนจะพอเข้าใจแนวคิดเรื่องพายุบ้างแล้ว จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันระบุปัญหาที่เกิดจากพายุ และ อภิปรายร่วมกันจนได้ประเด็นปัญหาว่า “บ้านเรืือนถูกทำ�ลาย ากพายุ ทำ�ให้เราไร้ที�อยู่� าศัย หรื้ ง พยพ ก ากพื�นที�เสี่�ยง เรา ะสร้้างบ้านที�มีความมั�นคงแข็งแรงทนทานต่่อ พายุได้้อย่่างไร”
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1