นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 221 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

47 ปีที่ 48 ฉบับที่ 221 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562ี ที่ ั บี่ ิ กั น 2. ขั�นสำ�รวจ (Explore) ในขั้นนี้ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหา คือ พายุ และ ที่อยู่อาศัยป้องกันพายุ โดยผู้เขียนทำ�หน้าที่แนะนำ�แหล่งเรียนรู้เพื่อการสืบค้น ซึ่่�งนักเรียนจะได้สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ การเกิดพายุ เช่น ชนิดของพายุที่พบได้ในประเทศไทย การแบ่งประเภทของพายุ จากนั้นผู้เขียนเเละนักเรียนร่วมกันอภิปรายข้อมูลที่ได้จาก การสืบค้นเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน แล้วให้นักเรียนดูตัวอย่างวิธีการแก้ปัญหาหรือการออกแบบที่อยู่อาศัยเพื่อป้องกันภัย จากพายุ เช่นการสร้างที่อยู่ใต้ดินเพื่อหลบพายุการสร้างบ้านทรงโค้งมนและมีช่องระบายอากาศ เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ บ้านจำ�ลองที่ทนทานต่อพายุ ดังตัวอย่างในภาพ 2 และภาพ 3 ภาพ 2 ตัวอย่างการสร้างที่อยู่อาศัยใต้ดิน ที่มา Gadgets (2019) ภาพ 3 ตัวอย่างการสร้างที่อยู่อาศัยทรงโค้งม ที่มา Puhak (2018) จากนั้นนำ�นักเรียนเข้าสู่่ิจกรรมบ้านสู้พายุปาบึก โดยให้นักเรียนสร้างบ้านที่สามารถป้องกันอันตรายจาก พายุได้ และกำ�หนดเงื่อนไข ดังนี้ 1. บ้านที่สร้างขึ้นต้องสามารถต้านทานต่อพายุปาบึกที่่ำ�ลองขึ้น (ใช้ลมจากเครื่องเป่าลม) การทดสอบความแข็งแรง ของบ้านจำ�ลอง ทำ�โดยการเป่าลมไปยังบ้านที่สร้างขึ้นที่ระยะต่างๆ ได้แก่ 10 เมตร 7 เมตร 5 เมตร 3 เมตร และ 1 เมตร ตามลำ�ดับ ในแต่ละระยะจะจับเวลาที่ลมโจมตีบ้านจำ�ลองเป็นเวลา 30 วินาที จากนั้นให้นักเรียนบันทึกผลที่เกิดขึ้นลงใน ใบกิจกรรม 2. บ้านที่สร้างขึ้นต้องเป็นรูปทรงเรขาคณิตสามมิติ มีปริมาตรเท่ากับ 2,000,000 ลูกบาศก์มิลลิเมตร โดยให้นักเรียน เลือกรูปเรขาคณิตสามมิติมา 1 แบบ จากนั้นคำ�นวณหาปริมาตรของรูปที่เลือกโดยใช้สูตรการหาปริมาตรรูปเรขาคณิตสามมิติ 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกใช้วัสดุและอุปกรณ์ ในการสร้างบ้านที่ครูจัดเตรียมให้ ได้แก่ • กระดาษสี ขนาด A4 กลุ่มละ 4 แผ่น • เทปใส กลุ่มละ 1 ม้วน • หลอดดูดนำ �� กลุ่มละ 4 หลอด • กระดาษลูกฟูก กลุ่มละ 1 แผ่น • กาวลาเท็ก์ กลุ่มละ 1 หลอด นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมสมองเพื่อเลือกรูปเรขาคณิตสามมิติที่่ิดว่ามีความแข็งแรง สามารถทนต่อแรงลมพายุได้ และใช้รูปเรขาคณิตสามมิติที่เลือกเป็นโครงสร้างหลักในการออกแบบบ้านจำ�ลอง โดยก่อนการลงมือสร้างบ้านจำ�ลอง นักเรียน จะต้องร่างแบบโครงสร้างบ้านลงในกระดาษและคำ�นวณหาปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่เลือกก่อน

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1