นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 221 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

49 ปีที่ 48 ฉบับที่ 221 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562ี ที่ ั บี่ ิ กั น 3. ขั�นอธิบาย (Explain) ในขั้นนี้เปิดโอกาสให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอแบบบ้านจำ�ลองที่ออกแบบผ่าน Tinkercad ให้เพื่อนๆ ฟัง ก่อนที่จะอนุมัติให้สร้างจริง ในการนำ�เสนอมีกติกาให้นักเรียนตอบคำ�ถามสำ�คัญ 3 ข้อ เพื่อกระชับเวลา และตรงประเด็น ดังนี้ 1. บ้านที่สร้างขึ้นมีลักษณะอย่างไร (อธิบายรูปทรงภายนอก ความกว้าง ความยาว และความสูงของบ้าน) 2. เพราะเหตุใดจึงเลือกรูปเรขาคณิตสามมิตินี้ในการออกแบบบ้าน 3. ลักษณะเด่นของบ้านที่ออกแบบมานี้้ืออะไร มีความแข็งแรงทนทานพายุอย่างไร จากนั้นเปิดโอกาสให้เพื่อนต่างกลุ่มร่วมกันแสดงความคิดเห็น เเละให้ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงแบบจำ�ลองบ้าน โดยให้คะแนนพิเศษกับกลุ่มที่่�ตงคำ�ถามหรือให้ข้อเสนอแนะแก่เพื่อนกลุ่มอื่น 4. ขั�นวิศวกรรม (Engineering) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือสร้างบ้านจริงจากอุปกรณ์ที่่ัดเตรียมไว้ให้ 5. ขั�นปรับปรุง (Enrichment) ให้นักเรียนทำ�การทดสอบประสิทธิภาพบ้านจำ�ลองที่สร้างขึ้น โดยการจำ�ลองพายุ จากเครื่องเป่าลม เป่าไปยังบ้านจำ�ลองที่ระยะต่างๆ ตามที่กล่าวก่อนหน้า การทดสอบแต่ละระยะจะจับเวลาระยะละ 30 วินาที หลังจากนั้นให้นักเรียนบันทึกผลการทดสอบลงในตาราง ดังตัวอย่างตาราง 1 ระยะห่างจากแหล่งกำ�เนิดพายุ ความต้านทานต่อพายุ ผลการสังเกต ได้ ไม่ได้ 10 เมตร 7 เมตร 5 เมตร 3 เมตร 1 เมตร ตาราง 1 ตารางบันทึกการทดสอบความต้านทานต่อพายุที่ระยะห่างต่างๆ จากแหล่งกำ�เนิดพายุ บ้านสู้พายุปาบึกที่่่านการทดสอบ จะต้องเป็นบ้านที่สามารถต้านทานพายุได้ในทุกระยะห่างจากแหล่งกำ�เนิดพายุ หากพบว่าบ้านจำ�ลองหลังใดไม่สมบูรณ์และไม่ผ่านการทดสอบ จะให้โอกาสนักเรียนกลับไปปรับปรุงบ้านให้ดีขึ้น แล้วนำ�กลับมา ทดสอบใหม่อีกครั้งหนึ่ง และทำ�การบันทึกผลการทดสอบลงในตารางเดิม พร้อมทั้งระบุสาเหตุที่ไม่ผ่านการทดสอบในครั้งแรก ว่าเกิดจากอะไร และได้ปรับปรุงอะไรบ้างในแบบบ้านจำ�ลองที่่ำ�มาทดสอบใหม่นี้ ภาพ 7 นักเรียนทดสอบความแข็งแรง ทนทานของบ้านจำ�ลองที่สร้างขึ้น

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1