นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 221 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562
51 ปีที่ 48 ฉบับที่ 221 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562ี ที่ ั บี่ ิ กั น นานาสาระ และ่ าวสาร เทพนิยายของชนหลายชาติมักกล่าวถึงมังกร สำ�หรับคนเอเชีย มังกรเป็นสัตว์ไม่มีปีก และมีจิตใจดีงาม นิทานพระอภัยมณีของสุนทรภู่่ีม้ามังกร คนเกาหลีเช่�อว่า แม่นำ ��ทุกสายมีมังกรคุ้มครอง คนจีนเช่�อว่า เม่�อมังกรหายใจ ออกแรงๆ นจะตก และเม่�อมังกรต่อสู้้ัน มักจะเกิดพายุ ในทะเล มังกรจีนชอบอาศัยอยู่ในปราสาทมุกใต้ทะเล และ กระดูกมังกรใช้รักษาโรคได้ สำ�หรับสีของมังกรจีนนั�น ใช้บอกนิสัย เช่นสีดำ�แสดงความดุร้ายสีเหลืองแสดงการเป็น สัตว์นำ�โชค และสีฟ้้าแสดงว่ามีความสำ�คัญ ชาวตะวันตกก็มีมังกรเช่นกัน แต่เป็นสัตว์ร้าย ที่่ีปีก และสามารถพ่นไฟจากปากได้ เทพนิยายอังกฤษ กล่าวถึงนักบุญ St. George ว่า ได้ฆ่่ามังกรที่่ำ�ลังจะทำ�ร้าย หญิงสาว เทพเจ้า Quetzacoatl ของชนเผ่า Aztec ในทวีป อเมริกากลาง เป็นสัตว์ผสมระหว่างงูกับมังกร ในความเป็นจริง มังกรที่โลกมีและนักชีววิทยารู้้ักดี ทีุ่่ด คือ มังกรโคโมโด (Komodo) ที่่ีมากบนเกาะ Komodo ซึ่่�งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศอินโดนีเี ย ในเขต Timor ตะวันตก และอยู่ทางทิศตะวันออกของเกาะชวา โดยเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะ Lesser Sunda เกาะนี้้ีพื้นที่ 340 ตารางกิโลเมตร เนื้อที่่่วนใหญ่เป็นภูเขา โดยมียอดเขาสูงสุดที่ 735 เมตร และพื้นที่เกาะถูกปกคลุมด้วยป่าปาล์ม ทะเลที่่้อม รอบเกาะมีกระแสนำ��เชี่ยวไหลผ่าน สภาพแวดล้อมทีุ่่นแรง เช่นนี้้ำ�ให้โลกไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับเกาะ Komodo จนกระทั่งปี ค.ศ. 1912 เมื่อนักดำ�นำ��หาไข่มุกชาวมาเลย์คนหนึ่งนำ�เรือไป จอดที่เกาะ และตั้งใจจะงมหาไข่มุกในหอยที่่ิดว่ามีอย่าง บริบูรณ์แต่ทันทีที่เดินขึ้นฝั�งก็ได้เห็นมังกรหลายตัวเดินเพ่นพ่าน ไปมา ขนาดและรูปร่างทีุ่่ร้ายทำ�ให้ต้องวิ่งกลับขึ้นเรือ และได้ รายงานข่าวการเห็นสัตว์อสุรกายที่ไม่มีใครเคยเห็นมาก่อน ให้ P.A. Ouwens ซึ่่�งเป็นผู้้ำ�นวยการพิพิธภัณฑ์์สัตว์แห่งเมือง Bogor บนเกาะชวารับทราบ Ouwens ได้รับฟังเรื่องสัตว์ประหลาดมาหลายครั้ง คราวนี้เขาตัดสินใจส่งเจ้าหน้าที่ไปดู และถ้าเป็นไปได้ก็ให้เก็บ ากสัตว์ประหลาดกลับมาเป็นหลักฐาน และเมื่อ Ouwens ประจักษ์ว่าสัตว์ลึกลับมีจริง เพราะ ากที่เขาเห็นมีลำ�ตัวยาว ประมาณ 3 เมตร และเป็นสัตว์สปีชีส์ใหม่ จึงตั้งชื่อว่า Varamus Komodoensis แต่คนทั่วไปนิยมเรียกว่า มังกรโคโมโด อีก 14 ปีต่อมา W. Douglas Burden แห่งพิพิธภัณฑ์์ ธรรมชาติ American Museum of Natural History ในอเมริกา เมื่อได้ข่าวมังกรโคโมโด จึงตัดสินใจไปล่าจับมังกรตัวเป็นๆ มาให้ชาวยุโรปดู และตั้งใจจะโชว์ ากมังกรในพิพิธภัณฑ์์ เพราะ Burden ชอบเก็บสะสมสัตว์แปลกๆ ดังนั้น จึงได้ ระดมนักล่ามังกร ช่างภาพ และพรานป่าที่่ีประสบการณ์สูง ในการล่าสัตว์ รวมถึงนักชีววิทยาผู้เชี่ยวชาญเรื่องสัตว์เลื้อยคลาน พร้อมลูกหาบอีก 15 คนเดินทางไปที่เกาะ Komodo เมื่อวันที่ ภาพ 1 มังกรโคโมโด ที่มา https://en.wikipedia.org/wiki/Komodo_dragon ศ.ดร.สุทัศน์ ยกส้าน • ราชบัณิ ต วิทยาศาสตร์สาขาฟิสิกส์ และดาราศาสตร์ • e-mail: suthat@swu.ac.th ธรรมชาติิของ มัังกรโคโ โด
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1