นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 221 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562
53 ปีที่ 48 ฉบับที่ 221 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562ี ที่ ั บี่ ิ กั น ตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1915 ที่โลกเริ่มรู้้ักมังกรโคโมโด รัฐบาลเนเธอร์แลนด์ที่ปกครองอินโดนีเี ยในเวลานั้น ได้ออก กฎหมายคุ้มครองให้โคโมโดเป็นสัตว์ที่ใกล้จะสูญพันธ์ สถิติการท่องเที่ยวบนเกาะ Komodo เกาะ Ringa และเกาะ Flores แสดงว่าในทุกปีจะมีนักทัศนาจรและ นักธรรมชาติประมาณ 20,000 คนไปแวะดูมังกรโคโมโด ปัจจุบันความน่าสนใจของมังกรโคโมโดในมุมมองของ นักวิทยาศาสตร์ คือ พิษของมันซึ่่�งอาจจะใช้เป็นยามหัศจรรย์ ได้ในอนาคต เมื่อมังกรโคโมโดกัดเหยื่อ พิษที่อยู่ในนำ��ลายของมัน จะทำ�ให้เลือดของเหยื่อไม่แข็งตัว เมื่อเลือดของเหยื่อไหล ออกมาเรื่อยๆ ความดันเลือดของเหยื่อจะลดลงจนร่างกายช็อค หมดสติ แต่เมื่อมังกรโคโมโดกัดกัน ตัวมันทั้งคู่จะไม่เป็นอะไร ในปีค.ศ. 2013 นักเคมีชื่อ Barney Bishop แห่งมหาวิทยาลัย George Mason ได้พบสารประกอบ Peptide หลายชนิดในเลือดของมังกรโคโมโด และคิดจะใช้ Peptide เหล่านี้เป็นยาปฏิิชีวนะ โดยเฉพาะ Peptide ชื่อ DRGN-1 ซึ่่�งเมื่อนำ�มาทดสอบกับแบคทีเรียที่บาดแผล และพบว่าบาดแผล หายเร็ว ถึงวันนี้ Bishop กับคณะได้พบ Peptide มากกว่า 200 ชนิดแล้วในเลือดของมังกรโคโมโด และได้ทำ�ให้โลก ของยาปฏิิชีวนะมีความหวังมากขึ้นว่า Peptide ที่พบจะเป็น ยาที่่ัศจรรย์ในอนาคต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Peptide ชนิด Antimicrobial AMP 48 รูปแบบ ซึ่่�งมีศักยภาพในการรักษาโรคได้ ตั้งแต่ปอดบวม สิว วัณโรค หนองใน แม้กระทั่งโรค Anthrax องค์การอนามัยโลกมีสถิติว่า ในทุกปีคนประมาณ 700,000 คนเสียชีวิตด้วยโรคติดเชื้อ เพราะแบคทีเรียทีุ่่กคาม มีฤทธิ�ในการต่อต้านยาปฏิิชีวนะ และ WHO คาดว่าจำ�นวน ผู้้�ทเสียชีวิตอาจจะสูงถึง 10 ล้านคนในปีค.ศ. 2050 เมื่อ Bishop กับคณะวิจัยได้ทดสอบ AMP ที่พบ ในเลือดมังกรโคโมโดกับแบคทีเรียชนิดต่างๆ และพบว่า AMP มีสมบัติต่อต้านแบคทีเรียได้ดี จนคิดว่ามันเป็นยาวิเศษ ซึ่่�งหมายความว่า การจะมียานี้ โลกต้องเลี้ยงมังกรโคโมโด อย่างขนาดใหญ่ เพราะมันเป็นสัตว์ที่่ีจำ�นวนไม่มาก ดังนั้น การทำ�ฟาร์มมังกรโคโมโดคงไม่ใช่คำ�ตอบ Bishop กำ�ลัง วิเคราะห์หาโครงสร้างของ Peptide ชนิดต่างๆ เพื่อหาทาง สังเคราะห์ Peptide ทั้งหมดให้ได้ในระดับอุตสาหกรรม ซึ่่�งอาจต้องใช้เวลานาน แต่ก็ต้องทำ�เพื่อให้มนุษย์ปลอดภัย นอกจากมังกรโคโมโดแล้ ว นักวิจัยคนอื่นๆ ก็กำ�ลังหาพิษจากสัตว์ต่างๆ เพื่อนำ�มาใช้ เช่น พิษแมงมุมที่ ใช้ฆ่่าเ ลล์มะเร็ง พิษงู Taipan ของออสเตรเลียที่ใช้ระงับ อาการที่เลือดไหลไม่หยุด ภาพ 3 นำ��ลายมังกรโคโมโด ที่มา https://twitter.com/rusomaweera/status/949790463225024512 บรรณานุกรม Wilcox, Christie. (2016). Venomous: How Earth’s Deadliest Creatures Mastered Biochemistry . Scientific American/ Farrar, Strauss and Giroux.
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1