นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 221 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

59 ปีที่ 48 ฉบับที่ 221 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562ี ที่ ั บี่ ิ กั น ต่าย แสนซน่ า ..เหตุุผลเดีีย ที่่� ำให้ ฉัันออกกำลังกาย ก็คือ เพื่่�อค ามสุุขในคุณภา ชีีิ .. Kenneth H. Cooper ที่่่ายถามคุณไปว่า จากการปนเปื�อนของพลาสติกบนสายใยอาหารที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตบนบกและมนุษย์ Nanoplastic มันเข้าไปสู่เ ลล์พืชได้อย่างไร คำ�ตอบก็คือ พลาสติกที่่�ทงไว้ส่วนหนึ่งจะทับถมอยู่ในดิน สิ่งมีชีวิตในดิน เช่น หนอน แมลง ไส้เดือนจะกินไปโดยไม่รู้้่าเป็นพลาสติก และถูกย่อยเชิงกลโดยสิ่งมีชีวิตเหล่านั้น รวมทั้งการย่อยเชิงเคมี ที่เกิดจากแบคทีเรียที่อยู่ในทางเดินอาหารของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในดิน ที่สามารถย่อยให้พลาสติกเหล่านั้นมีขนาดเล็กลง เป็น Microplastic และย่อยต่อมาเป็น Nanoplastic ได้ จากงานวิจัยพบว่า พลาสติกชนิด Polystyrene ขนาด 20-40 นาโนเมตร สามารถเข้าสู่เ ลล์พืชที่เลี้ยงในจานเพาะเลี้ยงในห้องปฏิิบัติการได้ โดยใช้วิธีการโอบล้อมนำ�เข้าสู่เ ลล์ (Endocytosis) แต่ยังไม่มีรายงานการศึกษาในต้นพืชจริงๆ นั่นแสดงให้เห็นว่า มีโอกาสเป็นไปได้สูงที่่้นพืชปกติจะมี ความสามารถในการดูดั บพลาสติกเข้าสู่่ำ�ต้นได้ และฉบับนี้้� ผู้้ตอบถูกเพียงท่านเดียว คือ ส.ต.ท.หญิงนิตยา จันทร์ปาน ซึ่่�งเป็นครูอยู่่�ทโรงเรียนตำ�รวจตระเวนชายแดนบ้านส้านแดง อ.ควนกาหลง จ.สตูล 93110 โดยที่อยู่ในการจัดส่งของ รางวัลสำ�หรับผู้้�ทตอบถูก และที่อยู่ในการจัดส่งสื่อไปให้โรงเรียนได้ใช้คือที่เดียวกัน รอรับรางวัลจากต่ายได้เลยจ้า! จากเรื่องที่เล่ามาเกี่ยวกับการเสื่อมสภาพของร่างกาย อันเนื่องมาจาก การได้รับออกิ เจนไม่เพียงพอกับความต้องการของเ ลล์ในร่างกาย แต่เรา สามารถแก้ไขได้ด้วยการออกกำ�ลังกายอย่างสมำ ��เสมอ เพื่อทำ�ให้เ ลล์ต่างๆ ในร่างกายได้รับปริมาณออกิ เจนที่เพียงพอ การออกกำ�ลังกายนอกจากจะช่วย เรื่องของการเติมออกิ เจนให้กับเ ลล์ของคุณแล้ว ยังมีส่วนช่วยในเรื่องสำ�คัญ อีกเรื่องหนึ่ง ต่ายอยากให้คุณลองหาคำ�ตอบมาร่วมสนุกกัน เมื่อหาคำ�ตอบได้แล้ว สามารถส่ง e-mail ไปที่ funny_rabbit@live.co.uk ภายในวันที่ 4มีนาคมพ.ศ. 2563 โดยต้องใส่ที่อยู่่�ทจะให้จัดส่งของรางวัลของคุณมาให้เรียบร้อย ที่เพิ่มเติมคือ ความรักในการแบ่งปัน ถ้าคุณอยากให้ต่ายส่งสื่อเล็กๆ น้อยๆ จาก สสวท. ไปให้โรงเรียน นอกเหนือจากของรางวัลทีุ่่ณจะได้รับ ช่วยเขียนชื่อโรงเรียนทีุ่่ณ อยากให้ต่ายส่งของไปให้มาให้ด้วย เพื่อที่โรงเรียนจะได้นำ�ไปใช้ในการเรียน การสอนได้ ส่วนเฉลยคุณสามารถติดตามอ่านได้ในฉบับที่ 223 นะจ๊ะ คำถาม บัั ที่่� 221 ปัญหาทุกอย่างมีทางออกเสมอ ทีมนักวิทยาศาสตร์จาก The Pennszlvania State University, USA ได้ทำ� การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับกลไกและการทำ�งานของร่างกาย เพื่อให้สมองได้รับออกิ เจนเพียงพอในขณะออกกำ�ลังกาย ก็พบว่า การออกกำ�ลังกายนี่แหล่ะ! ที่จะช่วยทำ�ให้สมองได้รับออกิ เจนเพิ่มมากขึ้นเมื่อเทียบกับการไม่ออกกำ�ลังกาย จากการไหลเวียน ของเลือดที่่ีความดันและความเร็วที่เพิ่มสูงขึ้นอันเป็นผลมาจากการออกกำ�ลังกายนั่นเอง และเม็ดเลือดจะจับกับออกิ เจน ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อนำ�ออกิ เจนไปส่งให้กับเ ลล์สมองและเ ลล์อื่นๆ ทั่วร่างกาย ส่งผลทำ�ให้สมองและ ระบบต่างๆ ในร่างกายทำ�งานได้อย่างสมบูรณ์ ร่างกายแข็งแรง โรคภัยต่างๆ ลดลง สดชื่น สดใส ดูอ่อนกว่าวัย สำ�หรับกลไกและ วิธีการศึกษาและตรวจวัดต่างๆ ในการศึกษาวิจัย หากคุณสนใจสามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ Zhang, Q., Roche, M., Gheres, K.W. et al. Cerebral oxygenation during locomotion is modulated by respiration. Nat Commun 10, 5515 (2019) และ Watts, M. E., Pocock, R., & Claudianos, C. (2018). Brain energy and oxygen metabolism: emerging role in normal function and disease. Frontiers in molecular neuroscience, 11. เ ลยคำถาม บัั ที่่� 219

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1