นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 221 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

7 ปีที่ 48 ฉบับที่ 221 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562ี ที่ ั บี่ ิ กั น อ่านเพิ่มเติมได้ที่ PISA Thailand เว็บไ์ https://pisathailand.ipst.ac.th โ เน็ต กัับ PISA ต่างกััน่ างไร ประเ ศไ ยได้อะไรจากการเข้าร่วมการวิจัย ในโปรแกรม PISA โปรแกรม PISA ประเ ศไ ย ใครเป็นผู้้ำ�เนินการ วัตถุประสงค์ของการวัดผลโอเน็ตกับ PISA ต่างกัน PISA ต้องการดูภาพรวมของประเทศและวัดแค่ 3 ด้าน ผู้เข้าสอบได้มาโดยการสุ่มกระจาย ไม่ต้องการให้รู้ผลสอบ รายบุคคล ว่าแต่ละคนมีความสามารถเทียบกับมาตรวัดตรงกลาง เป็นอย่างไร ไม่แม้แต่ผลในระดับ โรงเรียน จังหวัด ต่างจาก โอเน็ตที่เนื้อหาจะสอบตามหลักสูตร สอนอย่างไร สอบอย่างนั้น เพื่อวัดผลสัมฤทธิ�ด้านการสอนของโรงเรียน แต่ก็ไม่ได้ ปิดประตูว่า แนวการสอบของโอเน็ต จะวัดความฉลาดรู้หลังจาก ที่เรียนไปแล้วไม่ได้ เพราะจริงๆ แล้วสามารถปรับเปลี่ยนไป ในแนวทางเดียวกันได้ โดยวัดผลจากเนื้อหาเรื่องเดียวกันที่ ใช้ในหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ และปรับเพิ่มวัดการคิด วิเคราะห์มากขึ้น ก็จะทำ�ให้นักเรียนเริ่มคุ้นชินต่อการนำ�เอา ความรู้ไปใช้ และคุ้นชินกับข้อสอบตามแนวทาง PISA ทั้งนี้ สสวท. ได้จัดทำ�และปรับปรุงระบบออนไลน์ ข้อสอบ PISA ที่ได้รับอนุญาตให้เผยแพร่ไว้ที่เว็บไ์ https:// pisaitems.ipst.ac.th ซึ่่�งผู้สนใจสามารถเข้าไปทำ�ข้อสอบได้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น ประเทศไทยไม่ใช่สมาชิก OECD แต่ที่สมัคร เข้าร่วมโปรแกรม PISA เพื่อต้องการตรวจสอบคุณภาพ ของระบบการศึกษา และสมรรถนะของนักเรียนวัยจบ การศึกษาภาคบังคับของชาติเกี่ยวกับความรู้และทักษะ ที่่ำ�เป็นสำ�หรับอนาคต โดยใช้มาตรฐานของประเทศที่ พัฒนาแล้วเป็นเกณฑ์์ชี้้ัด ผลสัมฤทธิ�จากการทำ�แบบทดสอบ และข้อมูลเกี่ยวกับตัวนักเรียน รวมทั้งข้อมูลนโยบาย การบริหารจัดการ และการจัดการเรียนการสอนจากผู้บริหาร ของโรงเรียน ทำ�ให้ได้ข้อมูลคุณภาพการศึกษาของประเทศ ทั้งนี้ เพื่อนำ�ไปสู่การประเมินและพัฒนานโยบายทางการ ศึกษา การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาครูและบุคลากรทาง การศึกษา รวมไปถึงการจัดการเรียนการสอนของประเทศ ให้มีคุณภาพทัดเทียมกับนานาชาติต่อไป สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ ทำ�หน้าที่เป็นศูนย์แห่งชาติ (National Center) ดำ�เนินงานวิจัยโปรแกรมPISA ในประเทศไทย โดยประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกทั้งใน และต่างประเทศ เพื่อให้การดำ�เนินงานเป็นไปอย่างเต็ม ประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมาย สำ�หรับการดำ�เนินงานภายในประเทศ คณะรัฐมนตรี ได้แต่งตั้งคณะกรรมการ PISA แห่งชาติ ซึ่่�งประกอบไปด้วย ผู้แทนจากสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สำ�นักงานคณะกรรมการ ส่ งเสริมการศึกษาเอกชน สำ�นักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา กรุงเทพมหานคร กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย สำ�นักงานปลัดกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สถาบัน ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) สสวท. และผู้ทรงคุณวุฒิ โดยมีบทบาทหน้าที่่� ทงในแง่การสนับสนุน การดำ�เนินงานวิจัยโปรแกรม PISA และการส่งเสริมแนวทาง เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของประเทศ

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1