นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563
คณะที่ปรึกษา ประธานกรรมการ สสวท. ผู้อำ �นวยการ สสวท. รองผู้อำ �นวยการ สสวท. บรรณาธิการบริหาร ธรชญา พันธุนาวนิช หัวหน้ากองบรรณาธิการ ณรงค์ศิลป์ ธูปพนม กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยผู้อำ �นวยการ ผู้อำ �นวยการสาขา/ฝ่าย ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ/ผู้เชี่ยวชาญ ขจิต เมตตาเมธา จินดาพร หมวกหมื่นไวย ดร.ดวงกมล เบ้าวัน นันทฉัตร วงษ์ปัญญา ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ ดร.ประวีณา ติระ ดร.ภัทรวดี หาดแก้ว ดร.รณชัย ปานะโปย ดร.สนธิ พลชัยยา ดร.สุนัดดา โยมญาติ ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ ดวงมาลย์ บัวสังข์ เทอด พิธิยานุวัฒน์ นิลุบล กองทอง รัชนีกร มณีโชติรัตน์ ศิลปเวท คนธิคามี สินีนาฎ จันทะภา สิริมดี นาคสังข์ สุประดิษฐ์ รุ่งศรี เจ้าของ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 924 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทร. 0-2392-4021 ต่อ 3307 (ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท. หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่าได้มีการลอกเลียนแบบหรือแอบอ้าง โดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วย จักเป็นพระคุณยิ่ง) วัตถุประสงค์ 1. เผยแพร่และส่งเสริมความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีให้แก่ครูและผู้สนใจทั่วไป 2. เผยแพร่กิจกรรมและผลงานของ สสวท. 3. เสนอความก้าวหน้าของวิทยาการในด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีที่จะสนับสนุน การศึกษาของชาติให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบัน 4. แลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับ ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี จากครูและผู้สนใจทั่วไป เวลานี้ มีภัยคุกคามต่อสุขภาพของคนทั่วโลก คือ การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา หรือ COVID-19 (ย่อมาจาก Coronavirus disease 2019) ซึ่่� งองค์กรอนามัยโลกก็จัดให้อยู่ ในสถานการณ์ที่่ีความเสี่ยงสูง และต้องเฝ้าระวังการแพร่ระบาด ขอให้ทุกคนดูแลสุขภาพให้ แข็งแรง ล้างมือบ่อยๆ รับผิดชอบต่อตัวเองและสังคม เนื่องจากฉบับนี้ได้จัดพิมพ์ในช่วงปิดเทอม เราขอแนะนำ �กิจกรรมเด่นๆ เน้นความสนุก ที่่�ผ ปกครองสามารถร่วมทำ �กิจกรรมกับบุตรหลานได้ในวันหยุด • การทำ �สไลม์ (Slime) ซึ่่� งเป็นของเล่นยอดนิยมของเด็กเล็ก มีลักษณะเหนียวและหนืด ช่วยฝึกกล้ามเนื้อมัดเล็กและกระตุ้นให้เกิดความสนใจในการเรียนรู้้้านวิทยาศาสตร์ • กิจกรรมวัสดุเปลี่ยนสี Thermochromic Materials เมื่อเราทราบสมบัติของสารนี้แล้ว เพียงเติมความคิดสร้างสรรค์ก็จะได้ผลิตภัณฑ์์ที่แปลกใหม่ ซึ่่� งอาจเป็นรายได้เสริมจากการนำ � วิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ รู้หรือไม่ เดี� ยวนี้ เด็กไทยได้เข้าแข่งขันในเวทีนานาชาติมากมาย อีกโครงการที่ขอ นำ �เสนอคือ การประกวดผลงานวิจัยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (GLOBE Student Research Competition: GLOBE SRC) และ การประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมในการอนุรักษ์ทรัพยากรนำ� � (Thailand Junior Water Prize: TJWP) เราได้นำ �ตัวอย่างงานวิจัยทั้ง 2 โครงการ และฐานข้อมูล งานวิจัยทั้งหมด เพื่อให้เป็นแรงบันดาลใจให้กับนักเรียนในการสร้างงานวิจัยสู่เวทีประกวด ระดับโลกเช่นทีมที่่่านมา อ่าน นิตยสาร สสวท. ฉบับออนไลน์ได้ก่อนใครได้ที่ emagazine.ipst.ac.th และติดตาม ข่าวสารได้ที่ fb.com/ipstmag ธรชญา พันธุนาวนิช บรรณาธิการบริหาร เปิดเล่ม สสวท.ี 48 ฉั 222 มกราคม - กุมภาั น์ 2563
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1