นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563

11 ปีที่ 48 ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563ี ที่ ั บี่ ุ มั น์ ภาพ 1 การคงทนของการเรียนรู้ วัจนสัญลักษณ์ นามธรรม ข้อมูล สารสนเทศ ทักษะการเรียนรู้/การคิด ทักษะกระบวนการและเจตคติ ระดับของนามธรรม รูปธรรม ทัศนสัญลักษณ์ ภาพนิ่งประกอบเสียง ภาพยนตร์/วีดิทัศน์ นิทรรศการ ทัศนศึกษา การสาธิต ประสบการณ์นา การ ประสบการณ์จำ �ลอง ประสบการณ์ตรงที่่ีความหมาย ดร.วชิร ศรีคุ้ม • นักวิชาการ สาขาวิทยาศาสตร์ภาคบังคับ สสวท. • e-mail: wsrik@ipst.ac.th รอบร้� วิทย์์ “Potato Cup” ทางเลืือกใหม่่ของ การจััดการเรียนร้� เรื� องออสโ ซิิส หากกล่าวถึงการจัดการเรียนรู้้ิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเนื้อหาวิทยาศาสตร์ชีวภาพซึ่่� งมีความเชื่อมโยงกับ ชีวิตนั้น ในบางครั้งเป็นการจำ �ลองหรือเลียนแบบกระบวนการที่เกิดขึ้นจริงในสิ่งมีชีวิต แต่มีข้อจำ �กัดหลากหลายประการ เช่น 1) ระยะเวลา ในบางครั้งผู้สอนมีเวลาไม่เพียงพอในการจัดการเรียนรู้ให้เห็นความเปลี่ยนแปลงหรือผลที่เกิดขึ้น 2) เครื่องมือ และอุปกรณ์ กระบวนการบางอย่างที่เกิดขึ้นในเนื้อเยื่อหรือเ ลล์ ซึ่่� งต้องใช้เครื่องมือและอุปกรณ์สูงกว่าในระดับโรงเรียนจะมีได้ อาจเป็นผลให้ผู้เรียนไม่สามารถเข้าใจได้ด้วยหลักฐานเชิงประจักษ์หรือ 3) การใช้สิ่งมีชีวิตมาทดลองในห้องปฏิิบัติการ มีความเสี่ยง ในประเด็นทางด้านชีวจริยธรรม (Bioethical Issues) อย่างไรก็ตามการหลีกเลี่ยงไม่ใช้สิ่งมีชีวิตในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามเนื้อหา และพัฒนาทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพก็เป็นเรื่องที่เป็นไปได้ยาก เนื่องจากมีงานวิจัยเกี่ยวกับความคงทน ของการเรียนรู้สรุปประเด็นสำ �คัญไว้ว่า การเรียนรู้จากการลงมือปฏิิบัติหรือผ่านประสบการณ์ตรง จะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนมี ความเข้าใจและจดจำ �ได้ในระยะยาว รวมทั้งช่วยพัฒนาทั้งความรู้ ทักษะ และเจตคติได้ดีกว่าวิธีอื่นๆ (Dale, 1969) ด้วยเหตุนี้การเรียนรู้้่านแบบจำ �ลองจากสถานการณ์จริงจึงมีความสำ �คัญ ผู้เขียนจึงขอนำ �เสนอแนวทางการจัด กิจกรรมในเนื้อหาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรื่องการลำ �เลียงสารผ่านเ ลล์ โดยให้นักเรียนได้สำ �รวจตรวจสอบ เพื่อให้ได้หลักฐาน เชิงประจักษ์ในการสร้างคำ �อธิบาย และเชื่อมโยงหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องในการลำ �เลียงสารผ่านเ ลล์ ในทุกๆ ปี ผู้เขียนมีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ร่วมกับคณะครูและ นักเรียนในชั้นเรียน Gifted English Program (GEP) ของโรงเรียนปทุมคงคา จึงได้ถอดประสบการณ์ และนำ �มาเสนอแลกเปลี่ยน กับเพื่อนครู เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ให้นักเรียนได้มีโอกาสเสริมสร้างทักษะในห้องปฏิิบัติการ และเรียนรู้เนื้อหาวิทยาศาสตร์ตามแนวทางการเรียนรู้แบบสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry) โดยมีรายละเอียด กิจกรรม ดังนี้

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1