นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563

15 ปีที่ 48 ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563ี ที่ ั บี่ ุ มั น์ ภาพ 4 การเตรียมจัดวางชุดทดลอง ภาพ 5 นักเรียนทำ �กิจกรรม โดยมีการเปรียบเทียบผลการทดลองในหลายตัวแปร 3) วางถ้วยมันฝรั่งที่ได้จากข้อ 2 ลงบนจานเพาะเชื้อหรือจานเติมสารละลายนำ� �เกลือความเข้มข้น ร้อยละ 10 ลงในรูที่เจาะไว้ และเติมนำ� �กลั่นรอบๆ ถ้วยมันฝรั่ง ดังภาพ 4 6. ให้นักเรียนบันทึกปัจจัยที่ตนเองสนใจที่จะทดสอบ ึ่งอาจจะแตกต่างกัน ดังภาพ 5 แต่ควรเน้นให้นักเรียนบันทึก สิ่งต่างๆ อย่างละเอียดและสื่อสารข้อมูลภายในกลุ่ม รวมทั้งพยายามตอบคำ �ถามในใบกิจกรรมที่ให้นักเรียน แสดงภาพการเคลื่อนที่ของอนุภาคเกลือแกงจากหลักฐานที่ได้จากการทดลอง และอนุญาตหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ ในขั้นนี้้�ผ เขียนใช้กลวิธีสอนที่เรียกว่า Predict-Explain-Observe-Explain หรือ PEOE (Bajar-Sales, et al. 2015). โดยให้นักเรียนพยากรณ์ (Predict) ผลที่จะเกิดขึ้นพร้อมคำ �อธิบาย (Explain) ว่าจะเกิดอะไรขึ้น และให้สังเกต (Observe) และอธิบายผลที่ได้อีกครั้งหนึ่งว่าเหมือนหรือต่างกับคำ �อธิบายแรกอย่างไร (Explain) ในการอธิบายครั้งหลังนักเรียนควรได้แลกเปลี่ยน หาข้อมูลเพิ่มเติม และอภิปรายร่วมกัน ซึ่่� งควรได้ข้อสุปว่า จะเกิดการออสโมิ สของนำ� �ที่อยู่รอบๆ ถ้วยมันฝรั่งเข้าไปสูู่่ตรงกลางที่ใส่สารละลายนำ� �เกลือความเข้มข้น ร้อยละ 10 โดยสังเกตได้จากระดับนำ� �ในถ้วยมันฝรั่งเพิ่มสูงขึ้นนั่นเอง

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1