นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563
17 ปีที่ 48 ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563ี ที่ ั บี่ ุ มั น์ ภาพ 7 นักเรียนออกแบบการทดสอบด้วยตนเอง บทสรุป ากกิ กรร ถ้้วยมัันฝรั� ง กิจกรรม เช่น นักเรียนต้องการใส่เกลือในถ้วยมันฝรั่งแทนการเทสารละลายไว้ด้านนอก โดยให้เหตุผลว่านำ � � จะออสโมิ สได้เช่นเดียวกัน ซึ่่� งแสดงให้เห็นว่านักเรียนเชื่อมโยงเนื้อหาได้ ดังนั้น ผู้สอนจึงไม่ควรปิดโอกาส ดังภาพ 7 กิจกรรมถ้วยมันฝรั่งนี้ ผู้เขียนมีเจตนาจะแสดงให้เห็นตัวอย่างการสอนที่เน้นการเรียนรู้จากการลงมือปฏิิบัติกับ สิ่งต่างๆ ที่เป็นรูปธรรม และใกล้ตัวสามารถที่จะหยิบฉวยได้ง่าย ผู้สอนสามารถใช้กิจกรรมนี้ในการกระตุ้นความสนใจ ร่วมกับการสอนเรื่องการลำ �เลียงสาร หรือใช้เสริมให้ผู้เรียนมีความเข้าใจและจดจำ �แนวคิดหลักของการแพร่แบบต่างๆ ได้อย่างสนุกสนาน บรรณานุกรม Bajar-Sales, P. A. & Avilla, R. A. & Camacho, V. M. I. (2015). Predict-explain-observe-explain (PEOE). approach: Tool in relation metacognition to achievement in chemistry. Electronic Journal of Science Education, 19 (7), 1-21. Dale, Edgar. (1969). Audio-Visual Methods in Teaching, 3rd Edition, New York: Holt, Rinehart & Winston. Lobo, Tricia. (2018). Science Experiments on the Osmosis of a Potato. Retrieved February 5, 2020, from https://sciencing.com/ science-experiments-osmosis-potato-8360195.html. Reece, J. B., & Campbell, N. A. (2011). Campbell biology . Boston: Benjamin Cummings / Pearson. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). (2561). หนัังสืือเรีย รายวิิชาพื� ฐา วิิ ยา า์ ชั� นมััธยมศึึก าปีที่� 1 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1