นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563
18 นิตยสาร สสวท.ิ ต รอบร้� วิทย์์ วีระพงษ์ พิมพ์สาร • ครูชำ �นาญการ โรงเรียนมัธยมสุวิทย์เสรีอนุสรณ์ กรุงเทพฯ • e-mail: Weeraphongp61@email.nu.ac.th “ปุ๋๋� ยหมััก” กับการจััดการเรียนการสอน วิิทยาศาสตร์ ตั อย่างบทค า เร่� องปุ๋๋� ยหมััก การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์หรือประเด็นการเรียนรู้ โดยอาศัย “Phenomenon” หรือปราก การณ์ เพื่อ เป็นฐานหรือเป็นประเด็นการเรียนรู้้�ท เรียกว่า “Theme” ต้องยกให้ประเทศฟินแลนด์ การกำ �หนด Theme เดียวกัน มีความสอดคล้องกัน สามารถใช้เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้้่วมกันได้หลายวิชา หลายท่านอาจสงสัยว่าทำ �ไมต้องมี Theme ให้ครูยกตัวอย่าง เล่าเรื่องแล้วเข้าสู่ประเด็นไม่ได้หรือ แต่นั่นคือรูปแบบการจัดการเรียนรู้้�ท ีินแลนด์ไม่ทำ � เนื่องจากการสร้าง แรงจูงใจในการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนเป็นเรื่องสำ �คัญมาก การยกตัวอย่างในห้องนั้นไม่เพียงพอ ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงเป็นที่มา ของเนื้อหาในบทความนี้ เพื่อให้ครูวิทยาศาสตร์นำ �มาพัฒนาวิธีจัดการเรียนการสอนตลอดจนการประเมินผลตามสภาพจริง และขอยกตัวอย่างหลักการจัดการเรียนรู้โดยใช้ “ปุ� ยหมัก” เป็นฐานการเรียนรู้ ซึ่่� งมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1. การเลือกประเด็น ต้องมีที่มาที่ไป มีรายละเอียดชัดเจน และที่่ำ �คัญคือต้องเป็นประเด็นที่สามารถจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ข้ามรายวิชาได้ ในที่่� น “ปุ� ยหมัก ” เป็นประเด็นการเรียนรู้ เนื่องจากหลายคนรู้้ักหรือเคยทำ �มาแล้ว 2. การค้นหาคำ �สำ �คัญ เป็นขั้นตอนสำ �คัญในลำ �ดับต่อมา โดยการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่เลือก ซึ่่� งก็คือ ปุ๋ยหมัก เพื่อเชื่อมโยง กับรายวิชา สาระ มาตรฐานการเรียนรู้้่างๆ “ปุ๋ยหมัก” เป็นอินทรีย์วัตถุที่เกิดจากการหมัก ากพืช ากสัตว์ โดยมีจุลินทรีย์เป็นตัวย่อยสลาย แล้วนำ �ปุ๋ยอินทรีย์ ที่ได้มาใช้ปรับปรุงบำ �รุงดิน โดยไม่ต้องรอจากการสลายตัวของอินทรีย์สารตามธรรมชาติ การหมักเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วย ให้ได้ปุ๋ยอินทรีย์ ตามความต้องการในระยะเวลาสั้น ถ้ามีการจัดการที่่ีทั้งสัดส่วนของวัสดุที่ใช้ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อ การเจริญเติบโต การย่อยสลายวัสดุอินทรีย์ของจุลินทรีย์ที่ใช้ทำ �ปุ๋ยหมัก ทำ �ให้ได้ปุ๋ยหมักที่่ีและมีคุณภาพในระยะเวลาอันสั้น การทำ �ปุ๋ยหมักยังช่วยลดปัญหาการเผาเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรที่เป็นสาเหตุของการเกิดหมอกควัน PM 2.5 และภาวะ โลกร้อน วัสดุที่ใช้ทำ �ปุ๋ยหมักแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ วัสดุที่่่อยสลายง่ายกับวัสดุที่่่อยสลายยาก โดยใช้สัดส่วนที่เป็น องค์ประกอบหลักในวัสดุเป็นเกณฑ์์ คือ สัดส่วนของคาร์บอนกับไนโตรเจน หรือ C/N ratio (C/N ratio of the organic matter) หรือความเข้มข้นของไนโตรเจนในดิน ค่า C/N ratio มีช่วงแคบหรือกว้าง มีผลต่อการเจริญเติบและการออกดอกออกผลของพืช
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1