นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563

19 ปีที่ 48 ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563ี ที่ ั บี่ ุ มั น์ ค่า C/N ratio แคบ หมายถึง ตัวเลขของคาร์บอน และไนโตรเจนอยู่่่างกันไม่มาก สัดส่วนค่า C/N ratio ตำ� �กว่า 100:1 เช่น ผักตบชวา มีค่า C (Carbon) = 43.56 และ N (Nitrogen) = 1.27 สัดส่วนค่า C/N ratio = 43.56/1.27 = 34 (ดังตาราง 1) ซึ่่� งถือว่าเป็นวัสดุที่่ีค่าไนโตรเจนสูงและ ย่อยสลายง่าย ทำ �ให้พืชนำ �ไนโตรเจนไปใช้ได้ง่าย โดยปกติ พืชจะได้รับไนโตรเจนที่ละลายนำ� �ได้ง่ายและรวดเร็วกว่า ปุ๋ยอื่นๆ ทั้งที่อยู่ในรูปของไนโตรเจน แอมโมเนีย ยูเรียหรือ ที่ละลายนำ� �อยู่ในรูปอื่นๆ ก็ตาม ทำ �ให้ค่าไนโตรเจนในพืช เพิ่มขึ้นทันที ในขณะที่คาร์บอนหรือคาร์โบไฮเดรตในต้นพืช เท่าเดิม มีผลให้ค่า C/N ratio แคบอย่างรวดเร็ว ลักษณะ ดังกล่าวทำ �ให้พืชเกิดการเจริญทางใบคือแตกยอดและ ใบอ่อนง่าย ออกดอกยาก ภาพ 1 การทำ �ปุ๋ยหมักในเสวียน ที่มา รายาบุรีรีสอร์ท จ.ภูเก็ต ภาพ 2 ดอกลำ �ไย ค่า C/N ratio กว้าง หมายถึง ตัวเลขของคาร์บอนและไนโตรเจนอยู่่่างกัน สัดส่วนค่า C/N ratio สูงกว่า 100:1 เช่น ไม้ยางพาราใหม่ มีค่า C (Carbon) = 58.41 และ N (Nitrogen) = 0.19 สัดส่วนค่า C/N ratio = 58.41/0.19 = 307 (ดังตารางที่ 1) ซึ่่� งถือว่าเป็นวัสดุที่่่อยสลายยาก การให้ปุ๋ยหมักที่่ีค่าไนโตรเจนน้อยๆ พืชจะสังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อสะสมอาหารมากขึ้น โดย สร้างกลูโคส จากนั้นเปลี่ยนเป็นู โครส (นำ � �ตาลทราย) แล้วเปลี่ยนเป็นแป้งหรือคาร์โบไฮเดรตอื่นสะสมอยู่ในกิ่ง ก้าน ลำ �ต้น รากหรือหัว ในธรรมชาติ เมื่อฝนหยุดตกหรืองดการให้นำ� � นำ� �ในดินจะลดน้อยลงเรื่อยๆ จนไนโตรเจนละลายออกมาได้น้อย ในทีุ่่ดจะดูดไนโตรเจนเข้าลำ �ต้นไม่ได้ แต่พืชยังคงสังเคราะห์ด้วยแสงที่ใบทุกวันเมื่อมีแสงแดด ค่า C/N ratio จึงกว้างขึ้น เรื่อยๆ ใบพืชจึงมีบทบาทที่่ำ �คัญมากเพราะทำ �หน้าที่เป็นโรงงานผลิตอาหารสะสมให้ต้นพืช ผลของการมีอาหารสะสมมาก ทำ �ให้พืชออกดอกได้ง่าย ผลอ่อนร่วงน้อย ผลแก่มีคุณภาพดี เมื่อผลแก่แล้วก็สุกได้ง่าย ตัวอย่าง การเติบโตของต้นลำ �ไยในช่วงที่่้นลำ �ไยกำ �ลังแตกตาระหว่าง “ตาออกใบ” กับ “ตาออกดอก” ในช่วงนั้น การปรับค่า C/N Ratio ให้แคบหรือกว้างขึ้นอยู่่�ท ีัตถุประสงค์ ถ้าต้องการให้ออกดอกต้องทำ �ให้ C/N ratio กว้าง เช่น งดการ ให้นำ� � งดการให้ปุ๋ยไนโตรเจนจะเป็นการบังคับให้พืชออกดอก

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1