นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563

20 นิตยสาร สสวท.ิ ต ที่มา: กรมพัฒนาที่่ิน, 2540 จุุลิินทรีย์ที� เกี� ย ข้้องกับการส ายตั องวััสดุุินทรีย์ จุลินทรีย์มีบทบาทสำ �คัญทีุ่่ด ในการย่อยสลายวัสดุอินทรีย์ให้เป็นสารประกอบที่่ีโมเลกุลเล็กลง จนเป็นอินทรียวัตถุ ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ จุลินทรีย์เหล่านี้้่วนใหญ่ประกอบด้วยแบคทีเรียและเชื้อรา โดยมีบทบาทและหน้าที่แตกต่างกัน ในแต่ละกลุ่มของจุลินทรีย์ โดยมีสภาพแวดล้อมและชนิดของวัสดุเป็นตัวกำ �หนด แบคทีเรีย (bacteria) เป็นจุลินทรีย์ที่พบมากทีุ่่ดในการทำ �ปุ๋ยหมัก และเจริญเติบโตได้ในอุณหภูมิสูงกว่า 40 ๐ C ถึง 65 ๐ C แบคทีเรียที่พบในกองปุ๋ยหมักคือ Bacillus sp., Pseudomonas sp., Cellulomonas sp., Flavobacterium sp., Micrococcus sp. และ Achromobacter sp. เชื� อรา (fungi) มีบทบาทสำ �คัญในการย่อยสลายวัสดุอินทรีย์ เนื่องจากสามารถปลดปล่อยเอนไ์ ช่วยย่อยสลาย สารประกอบที่่ีโมเลกุลใหญ่ แต่เชื้อรามีข้อจำ �กัดในการเจริญเติบโต คือต้องมีอากาศถ่ายเทได้ดี อุณหภูมิและความชื้นไม่สูง มากนัก เชื้อราที่พบในกองปุ๋ยหมัก คือ Aspergillus sp., A.niger , A.flavus , A.fumigatus , A.terreus , A.awamori , Penicillium sp., P.lilaciunm , P.digitatum , Fusarium sp. ภาพ 3 แบคทีเรีย Cellulomonas sp. ที่มา http://agri360.vn/ ภาพ 4 เชื้อรา Aspergillus sp. ที่มา https://commons.wikimedia.org/ ตารางที่ 1 เปรียบเทียบค่า N (Nitrogen) P 2 O 5 (Phosphorus) K 2 O (Potassium) C (Carbon) C/N (ค่า C/N ratio) และค่า pH (ค่าความเป็นกรด-เบส) ของวัสดุจากธรรมชาติ ชนิดของวัสดุ N % P 2 O 5 % K 2 O % C % C/N pH ฟางข้าว 0.55 0.09 2.39 48.82 89 8.20 ผักตบชวา 1.27 0.71 1.84 43.56 34 7.80 หญ้าขน 1.38 0.34 3.69 48.66 35 7.10 ต้นข้าวโพด 0.53 0.15 2.21 33.00 62 8.20 มันสำ �ปะหลังเปลือก (แห้ง) 0.59 0.19 0.77 31.52 53 4.45 ขี้เลื่อยไม้เบญจพรรณ 0.32 0.16 2.45 62.70 196 5.40 ไม้ยางพาราใหม่ 0.19 0.36 0.40 58.41 307 7.40 ใบอ้อย 0.40 0.15 0.44 57.69 146 7.50 ขุยมะพร้าว 0.36 0.05 2.94 60.13 167 6.20 แกลบ 0.36 0.09 1.08 54.72 152 6.05

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1