นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563
21 ปีที่ 48 ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563ี ที่ ั บี่ ุ มั น์ ั จััยที� สนับสนุนการส ายตั องวััสดุุินทรีย์ ชนิดและคุณสมบัติของวัสดุ วัสดุที่่ำ �มาทำ �ปุ๋ยหมักควรเป็นวัสดุ ที่่�ช นไม่ใหญ่มากนัก เพื่อสะดวกแก่การกองปุ๋ยและมีพื้นที่่ิวมาก ทำ �ให้จุลินทรีย์ เจริญได้ทั่วถึง ซึ่่� งจะทำ �ให้วัสดุสลายตัวได้เร็วขึ้น ความชื� น ความชื้นในกองปุ๋ยหมัก เป็นตัวควบคุมกิจกรรมและ การดำ �รงชีวิตของจุลินทรีย์ ความชื้นที่เหมาะสมต่อการย่อยสลายอยู่่� ท ประมาณ 50-60% โดยนำ � �หนัก ถ้าความชื้นตำ� �กว่า 40% การย่อยสลายของ วัสดุจะช้าลงเพราะจุลินทรีย์ขาดนำ� � แต่ถ้าความชื้นเกิน 80% ทำ �ให้กองปุ๋ยหมัก มีนำ� �มากเกินไป อากาศ อากาศหรือออกิ เจนมีความจำ �เป็นในการดำ �รงชีวิตของ จุลินทรีย์ ซึ่่� งจุลินทรีย์ที่่ำ �หน้าที่่่อยสลายวัสดุอินทรีย์ในกองปุ๋ยหมักส่วนใหญ่ เป็นชนิดที่่้องการออกิ เจน เพื่อเป็นตัวรับอิเล็กตรอนในกระบวนการหายใจ ภาพ 5 การวัดค่าความเป็นกรดเบส ความชื้น อุณหภูมิในดิน ที่มา http://www.mvchamber.org/ อุณหภูมิ ในกองปุ๋ยหมักที่่ีสัดส่วนของวัสดุและเชื้อจุลินทรีย์ที่เหมาะสม อุณหภูมิภายในกองปุ๋ยจะเพิ่มสูงขึ้น ค่อนข้างรวดเร็ว ความร้อนที่เกิดขึ้นมาจากการทำ �งานของเชื้อจุลินทรีย์ ในการย่อยสลายเนื้อเยื่อพืชให้เป็นอาหารในการเจริญ เติบโต โดยทั่วไปพบว่าอุณหภูมิจะขึ้นสูงถึง 50 - 60 ๐ Cภายในระยะเวลา 2 - 4 วันหลังจากการหมัก ความร้อนที่เกิดขึ้นจะถูกกักเก็บ ไว้ในกองปุ๋ย ความเป็นกรด-เบส (pH) จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่่ับวัสดุที่ใช้ทำ �ปุ๋ยหมักโดยเฉพาะเศษ ากพืช โดยทั่วไปมีค่าเป็น กลางหรือเป็นกรดเล็กน้อย เมื่อนำ �มากองเป็นปุ๋ยหมัก ในช่วงแรกความเป็นกรด-เบสจะลดลงเล็กน้อย เนื่องจากการปลดปล่อย กรดอินทรีย์จากเชื้อจุลินทรีย์ที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เมื่อวิเคราะห์ความรู้้�ท เกี่ยวข้องกับกระบวนการทำ �ปุ๋ยหมักแล้ว สามารถกำ �หนดคำ �สำ �คัญ และรายวิชาต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับคำ �สำ �คัญดังกล่าวได้ดังนี้ 1. แสง อุณหภูมิ ความชื้น ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส เกี่ยวข้องกับวิชาฟิิสิกส์ 2. กรด-เบส ธาตุและสารประกอบ เกี่ยวข้องกับวิชาเคมี 3. อินทรียวัตถุ จุลินทรีย์ เกี่ยวข้องกับวิชาชีววิทยา 4. สัดส่วน อัตราส่วน การวัด สถิติ เกี่ยวข้องกับวิชาคณิตศาสตร์ ฟิิสิกส์ แสง อุณหภููมิิ ค า ชื้้� น ทฤษฎีี์ องแก๊สี วิิทยา อินทรียวััตถุุ จุุลิินทรีย์ แ ะ สิ� งมีีี วิิตในดิน เคมีี กรดเบส ธาตุแ ะ สาร ระกอบในดิน คณิตศาสตร์ สัดส่ น อัตราส่ น การวััด สถิิติ ปุ๋๋� ยหมััก จากนั้น นำ �คำ �สำ �คัญมากำ �หนดเป็นมาตรฐานการเรียนรู้ของแต่ละรายวิชาหรือสาระวิชา
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1