นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563

23 ปีที่ 48 ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563ี ที่ ั บี่ ุ มั น์ ขั� นวิเคราะห์ ให้เชื่อมโยงปัญหา สาเหตุ ผลกระทบที่่ำ �ให้ความเป็นกรด-เบส ธาตุและสารอาหารในดินเปลี่ยนแปลง และปุ๋ยที่ใส่ลงไปในดินมีผลกระทบอย่างไรกับดิน โดยใช้กิจกรรม เช่น การทำ � Mind Mapping ขั� นลงมือปฏิิบัติ นำ �ผลการวิเคราะห์มาเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาดิน ให้นักเรียนลงมือปฏิิบัติการแก้ปัญหาดิน โดยใช้ปุ๋ยหมักที่่ำ �ไว้ เก็บข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบปุ๋ยหมักสูตรต่างๆ หรืออาจทำ �โครงงานวิทยาศาสตร์ โครงงาน STEM หรืออื่นๆ ที่ครูและนักเรียนร่วมกันกำ �หนดรูปแบบ ขั� นสรุปและอภิปรายผล นักเรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ (Constructionism) และเชื่อมโยงให้เข้ากับชีวิต ความเป็นอยู่ในชุมชนได้เป็นอย่างดี มีความสุขในการเรียนรู้ สามารถประยุกต์เพื่อพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ เช่น เทคนิค การปรับปรุงดิน เทคนิคการปลูก เทคนิคการบำ �บัดนำ� � ประดิษฐ์เครื่องมือต่างๆ การจัดการเรียนรู้้ังกล่าวสามารถสอนทำ �ไปพร้อมกัน ทั้งในรายวิชาฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ ชีววิทยาและเคมี โดยจัดเป็น ฐานการเรียนรู้เวียนไป แต่ละฐานมีการเก็บข้อมูล ใบงาน กิจรรม การทดลองต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำ �ความรู้มาเชื่อมโยงกันได้ การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐาน และกำ �หนด ให้ “ปุ๋ยหมัก” เป็นประเด็นการเรียนรู้ จึงเป็นตัวอย่างที่่ีเพื่อให้ เกิดการจัดการเรียนรู้แบบบูรณการ ที่่่วยให้เกิดการขับเคลื่อน พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม โดยใช้การศึกษาเป็นฐาน จึงเป็นการตอบ โจทย์ของการศึกษาในศตวรรษที่ 21 สู่การเป็นไทยแลนด์ 4.0 อย่างแท้จริง ภาพ 7 1. ผู้เรียนกำ �ลังลงมือการแก้ปัญหาดิน 2. ผู้เรียนสรุปและอภิปรายผลการดำ �เนินการ ที่มา โรงเรียนมัธยมสุวิทย์เสรีอนุสรณ์ บรรณานุกรม วีระพงษ์ พิมพ์สาร. (2562). การศึกษาไทยกับการประยุกต์ใช้ Phenomenon - Based Learning. นิิ ย าร . 47 (220), 46-50. สมศักดิ� จีรัตน์. (2562). การผลิตปุ๋� ยหมักเพื� อใช้ใ การปรั ปรุงดิ และรัก าสิ่� งแ ดล้อม . เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 1 2

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1