นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563

25 ปีที่ 48 ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563ี ที่ ั บี่ ุ มั น์ ก ะบวนกา แก้้ัญหาเชิิงส างส์ รูปแบบกระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ที่ Treffinger D. J., Isaksen S. G. และ Dorval K. B. ได้พัฒนาขึ้น ฉบับล่าสุดเป็นฉบับที่ 6.1 (CPS Version 6.1) โดยประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ 8 ขั้นตอน (พรสวรรค์ วงค์ตาธรรม, 2558) ดังภาพ 1 ดังนี้ 1. ขั้นท� ำความเข้าใจปัญหา (Understand the Challenge) 1.1 การสร้างสรรค์โอกาส (Constructing Opportunities) มองหาโอกาสที่เป็นประโยชน์และคิดหาโอกาส ที่เป็นไปได้ พร้อมทั้งระบุเป้าหมายที่สร้างสรรค์ 1.2 ขั้นสำ �รวจข้อมูล (Exploring Data) รวบรวมแหล่งข้อมูลจากหลายๆ แหล่ง และมุมมองที่แตกต่างกัน เพื่อเป็นพื้นฐานในการแก้ปัญหา 1.3 โครงร่างของปัญหา (Framing Problems) พิจารณาปัญหาที่เกิดขึ้นทั้งหมด และเลือกปัญหาที่่ำ �คัญ ทีุ่่ด เพื่อค้นหาวิธีการแก้ปัญหาต่อไป 2. ขั้นสร้างแนวคิด (Generating Ideas) เป็นการค้นหา สร้างแนวคิด และรวบรวมความคิดที่หลากหลาย โดยมี ความคิดคล่อง ความคิดยืดหยุ่น ความคิดริเริ่ม และความคิดละเอียดลออ ช่วยสร้างแนวคิดที่หลากหลาย เพื่อนำ �แนวคิด เหล่านั้นมาพิจารณาและเลือกแนวคิดที่เป็นไปได้มากทีุ่่ด 3. ขั้นเตรียมก่อนลงมือ (Preparing for Action) 3.1 พัฒนาแนวทางการแก้ปัญหา (Developing Solutions) ประยุกต์เอากลยุทธ์ เครื่องมือในการวิเคราะห์ พัฒนา เพื่อปรับปรุงแนวทางการแก้ปัญหาที่่ีความเป็นไปได้ให้กลายเป็นแนวทางที่ใช้แก้ปัญหาได้ 3.2 สร้างการยอมรับ (Building Acceptance) สร้างข้อสนับสนุน แนวทางการแก้ปัญหา และวางแผนการ แก้ปัญหา พร้อมทั้งประเมินผลจากแนวทางการแก้ปัญหา พิจารณาถึงทรัพยากร เช่น บุคคล สถานที่ วัสดุอุปกรณ์ เวลา เพื่อป้องกันอุปสรรคในการดำ �เนินการแก้ปัญหาต่อไป 4. การวางแผนการดำ �เนินการ (Planning Your Approach) 4.1 ประเมินภารกิจ (Appraising Tasks) เป็นการสำ �รวจวิธีที่แก้ปัญหา ที่ใช้ว่าสอดคล้องกับเป้าหมายหลักหรือไม่ 4.2 ออกแบบวิธีการ (Designing Process) เป็นขั้นใช้องค์ความรู้้�ท ีี เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ เพื่อกำ �หนดเครื่องมือหรือวิธีการที่เหมาะสมเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย Dorval (1994). ได้นำ �เสนอรูปแบบการแก้ปัญหาเชิงสร้าง ฉบับที่ 5 (CPS Version 5) โดยจัดกลุ่มองค์ประกอบเป็น 3 องค์ประกอบ 6 ขั้นตอน และในปี ค.ศ. 2000 Treffinger, Isaksen and Dorval (2000). ได้พัฒนาเป็นฉบับล่าสุด ฉบับที่ 6.1 (CPS Version 6.1) ซึ่่� งมี 4 องค์ประกอบ 8 ขั้นตอน โดยมีทฤษฎีและงานวิจัยสนับสนุน ซึ่่� งสร้างอยู่บนหลักการ 5 ประการ คือ 1. ความคิดสร้างสรรค์ มีอยู่ในคนทุกคน 2. คนทุกคนสามารถแสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์ได้มากมาย หลากหลายรูปแบบ 3. ส่วนใหญ่ความคิด สร้างสรรค์จะขึ้นอยู่่ับความสนใจ ความชอบ และลักษณะเฉพาะตัวของบุคคล 4. การทำ �งานโดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ทำ �ให้ ผลงานมีความแตกต่างและมีความหมาย 5. ความเป็นตัวตนของแต่ละบุคคลและความรู้้ึกผ่อนคลายจะทำ �ให้สร้างผลงาน ด้วยความคิดสร้างสรรค์เพิ่มขึ้น (Treffinger, D. J., 1995 และ Treffinger, D. J., Isaksen, S. G., และ Dorval, K.B., 2003)

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1