นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563
3 ปีที่ 48 ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563ี ที่ ั บี่ ุ มั น์ สไลม์ (Slime) เป็นของเล่นสำ �หรับเด็ก มีลักษณะเหนียวและหนืด เมื่อปั� นแล้วปล่อยทิ้งไว้สามารถคืนสภาพเดิมได้ ทราบหรือไม่ว่า สไลม์ ที่เด็กๆ เล่นกันนั้นได้สอดแทรกความรู้ทางเคมีไว้ด้วย นั่นคือ สไลม์เป็นพอลิเมอร์อย่างหนึ่ง พอลิเมอร์ คืออะไร และสไลม์เกี่ยวข้องกับความรู้ทางเคมีอย่างไรบ้าง ไปติดตามกันเลยค่ะ “สไลม์์ (Slime)”์ ของเล่นเด็็กกับควา รู้้� ทางเคมีี่็ั้ �ี พอลิเ อ์ คืออะไ ? ิ์ื อนอเ อ์ ์ พอลิเ อ์ แบบเส้นิ์้ พอลิเ อ์ แบบกิ� งิ์ิ� พอลิเ อ์ แบบ่ างแหิ์่ พอลิเ อ์ิ์ ศิริรัตน์ พริกสี • ผู้้ำ �นาญ สาขาเคมีและชีววิทยา สสวท. • e-mail: sphri@ipst.ac.th รอบร้� วิทย์์ เมื่อพูดถึง “พอลิเมอร์ (Polymer)” หลายคนอาจนึกถึง “พลาสติก (Plastic)” เนื่องจากพลาสติกเป็นชื่อที่่�ค นเคย และเป็นผลิตภัณฑ์์ที่่ำ �มาใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลายในชีวิตประจำ �วัน พอลิเมอร์ไม่ใช่พลาสติกเพียงอย่างเดียว แต่เป็น สารประกอบอินทรีย์ที่่ีโมเลกุลขนาดใหญ่ ได้จากสารโมเลกุลขนาดเล็กที่เรียกว่า มอนอเมอร์ (Monomer) จำ �นวนหลายโมเลกุล ทำ �ปฏิิกิริยาเคมีกัน แล้วเกิดการเชื่อมต่อเป็นสายยาวด้วยพันธะโคเวเลนต์ พอลิเมอร์มีทั้งที่เป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติ เช่น แป้ง เ ลลูโลส โปรตีน และพอลิเมอร์สังเคราะห์ เช่น พลาสติก กาว โฟม ลักษณะการเชื่อมต่อกันของมอนอเมอร์ ทำ �ให้โครงสร้างของพอลิเมอร์อาจเป็นพอลิเมอร์แบบเส้น (Linear Polymer) ที่เกิดจากมอนอเมอร์สร้างพันธะโคเวเลนต์เป็นโ่ ยาว พอลิเมอร์แบบกิ่ง (Branched Polymer) โดยมีพอลิเมอร์สายสั้นแตกแขนง เป็นกิ่งออกจากโ่ หลัก หรือพอลิเมอร์แบบร่างแห ( N etwork Polymer) เป็นพอลิเมอร์ที่่ีการเชื่อมขวาง (Crosslink) ระหว่าง สายพอลิเมอร์ต่อเนื่องกันเป็นร่างแห ซึ่่� งโครงสร้างแบบต่างๆ นี้้่งผลต่อสมบัติของพอลิเมอร์และการนำ �ไปใช้ผลิตเป็น ผลิตภัณฑ์์ โดยโครงสร้างของพอลิเมอร์แต่ละแบบมีสมบัติแตกต่างกันสรุปได้ดังนี้ • ความหนาแน่นสูง • แข็งและเหนียว • ความหนาแน่นตำ� � • จุดหลอมเหลวตำ� � • แข็งและเหนียว • แข็ง แต่ไม่เหนียว • เมื่อได้รับความร้อนจะสลายตัว โดยไม่หลอมเหลว เมื่อรู้้ักพอลิเมอร์กันบ้างแล้ว เราไปลองทำ �สไลม์ซึ่่� งเป็นพอลิเมอร์กันเลย
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1