นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563

45 ปีที่ 48 ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563ี ที่ ั บี่ ุ มั น์ ชาติชาย โคกเขา • ครูโรงเรียนแสงทองวิทยา จังหวัดสงขลา • e-mail: khogkhao@gmail.com วรรณลา กาหยี • ครูโรงเรียนแสงทองวิทยา จังหวัดสงขลา • e-mail: moderntik091@gmail.com ศิริศวร์ ธนัตจริญรัตน์ • ครูโรงเรียนแสงทองวิทยา จังหวัดสงขลา • e-mail: siris1250@gmail.com สุพร พงศ์พิทักษ์ • ครูโรงเรียนแสงทองวิทยา จังหวัดสงขลา • e-mail: suporn1964pong@gmail.com วัชรา ชินผา • ครูโรงเรียนแสงทองวิทยา จังหวัดสงขลา • e-mail: watchara.c@saengthong.ac.th PLC ในบริิบทของครููป ะถมศึึกษา (ป. 1-3) โ งเรีียนแสงทองวิิทยาิูึีิ PLC เริ่� มจากคาบเรีียนวิิชาวิิทยา าสตร์์ ช้� นป ะถมศึึกษาปีที� 2/2่ �ีิิ์้ � นึีี � การศึกษาไทยมุ่งผลิตกำ �ลังคนที่พร้อมใช้งานพ่วงไปกับทักษะต่างๆ ที่่ำ �เป็นในศตวรรษที่ 21 ทำ �ให้การศึกษา กลายเป็นเคร่� องมือสำ �คัญที่จะนำ �พาประเทศเข้าสู่การแข่งขัน เพ่� อให้เกิดความเท่าเทียมทั� งด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมกับนานาประเทศ ประเทศไทยจึงมีการแก้ปัญหาคุณภาพการศึกษามาอย่างต่อเน่� อง จะเห็นได้จากการนำ � เทคนิคต่างๆ มาช่วยปฏิิรูปการเรียนรู้ หนึ่งในนั� นคือ การสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) ที่่� ร ูักกันอย่างแพร่หลายในช่วงที่่่านมา ผู้เขียนเริ่มด้วยคำ �ว่า “บริบทครูประถม โรงเรียนแสงทองวิทยา” ซึ่่� งเป็นโรงเรียนเอกชนภายใต้การดูแลของคณะ าเลเี ยน และไม่ได้บรรจุลง PLC ในตารางสอนให้เห็นเหมือนโรงเรียนรัฐอื่นๆ ซึ่่� งมีการมอบเป็น “นโยบาย” ทีู่่กกำ �กับด้วยอุดมการณ์ ในการปฏิิรูปการศึกษาของชาติ ครูในโรงเรียนเกือบทั้งหมดไม่รู้้ักคำ �ว่า PLC แล้ว PLC ของครูประถมศึกษาตอนต้นที่่�น เริ่มขึ้นได้อย่างไร มีลักษณะเหมือนหรือต่างจาก PLC ที่ครูทั่วไปรู้้ักหรือไม่ จากอนุทินในรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้น ป.2/2 (โปรแกรม Mini ซึ่่� งเน้นเนื้อหาตามหลักสูตรและเพิ่มเติมภาษาอังกฤษ และคณิตศาสตร์) ในวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 หลังคาบวิทยาศาสตร์ เรื่องสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนำ� �นม โดยครูอธิบายลักษณะ สำ �คัญของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนำ� �นม และเน้นยำ� �กับนักเรียนว่า วาฬ โลมา พะยูนแมนนาทีหรือพะยูนหางกลม (Family Trichechidae) และพะยูน (Family Dugongidae) ไม่ใช่สัตว์จำ �พวกปลา แต่เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนำ� �นมที่อาศัยอยู่ในนำ� � จากนั้นครูเชื่อมโยงบทเรียนกับประเด็นในสังคม ด้วยข่าว “พะยูนมาเรียม เกยตื้นที่่ังหวัดกระบี่” เพื่อให้ทันกับ สถานการณ์รอบตัว โดยดำ �เนินการและร่วมกันอภิปรายในประเด็น ดังนี้ การเรียนกระตุ้้� น ความคิด มาเรีียนี กับั มาเรีียมี

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1