นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563

46 นิตยสาร สสวท.ิ ต น้องมาเรีียมกินอะไ้ีิ 1. ครูเปิดวีดิทัศน์เรื่อง “สารตั้งต้น ตอนมาเรียม ep 1-3” จาก YouTube พบว่านักเรียนส่วนใหญ่ให้ความสนใจ ตื่นเต้น เกิดความเอ็นดู และเริ่มมีจิตอนุรักษ์ต่อสิ่งมีชีวิตทางทะเลอย่างเห็นได้ชัดจากการตั้งค� ำถามเกี่ยวกับ อาการของน้องมาเรียม และแสดงถึงความห่วงใย 2. "มาเรียม" คือชื่อที่ชาวบ้านในพื้นที่เรียกพะยูนเพศเมีย อายุประมาณ 6 เดือน ที่พลัดหลงจากแม่แล้วเกยตื้นที่ จังหวัดกระบี่ จากนั้นถูกนำ �มาเลี้ยงในพื้นที่เปิดในธรรมชาติที่เกาะลิบง จังหวัดตรัง 3. มาเรียมกินอะไรเป็นอาหาร? นัักเรีีย A : ครููครัับ มาเรีียมกิ อะไ เป็็ อาหา ครัับ? ครูู : กิ หญ้้าทะเลเป็็ หลักและสาหร่่ายทะเลครัับ นัักเรีีย A : ใ ทะเลมีหญ้้าด้้วยเห อครัับ แล้วมั ต่่างจากหญ้้าบ บกหรืือไม่ครัับ? นัักเรีีย B : เ ารู้้ได้้อย่างไ ครัับว่าพะยูนกิิ หญ้้าทะเล? นี่่ือตัวอย่างบทสนทนาที่อยู่ในอนุทินของผู้เขียนจากชั่วโมงวิทยาศาสตร์ในวันนั้น และผู้เขียนพยายามออกแบบ การจัดการเรียนรู้ โดยการบูรณาการเรื่องน้องมาเรียมเข้ามาในห้องเรียน เพื่อให้การจัดการเรียนรู้้่าสนใจ และเชื่อมโยงกับ ประเด็นในสังคม ซึ่่� งทำ �ให้องค์ความรู้ในรายวิชาต่างๆ นั้นดูไม่ไกลตัวและสัมผัสได้จริง ผู้เขียนได้พยายามหาคำ �ตอบจากคำ �ถามที่่่า “น้องมาเรียมกินอะไร” จนกระทั่งได้พบและอ่านบทความวิชาการ ที่สามารถตอบคำ �ถามดังกล่าวได้ คือบทความที่่�ช อว่า Stomach Contents of Dugongs (Dugong Dugon) from Trang Province, Thailand (Adulyanukosol et al., 2010) ซึ่่� งอยู่ภายใต้พื้นฐานความคิดของผู้เขียนที่เชื่อว่า ความสนใจที่มาจากตัวนักเรียนเอง ร่วมกับประเด็นทางสังคม จะพัฒนาการเรียนรู้ให้เกิดความคงทนของความรู้ และเข้าใจแก่นแท้ของรายวิชาต่างๆ มากยิ่งขึ้น มากกว่าการท่องจำ �เฉพาะความรู้้ำ �เร็จรูปที่บรรจุมาในหนังสือ จากการที่่ักเรียนและผู้เขียนพยายามศึกษาบทความวิจัยดังกล่าวร่วมกัน พบว่านักเรียนยังไม่มีความรู้เกี่ยวกับ คำ �ศัพท์และโครงสร้างประโยค ซึ่่� งถือว่าเป็นเรื่องไม่แปลกและผิดที่เด็กในระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้นจะอ่านประโยค ภาษาอังกฤษไม่เข้าใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับบทความวิชาการที่กล่าวถึงนั้น แต่เนื่องจากความพยายามและอยากรู้อยากเห็น ของนักเรียนก็เป็นเรื่องที่่้าทายผู้เขียนเป็นอย่างมาก ที่พยายามจะพัฒนาทักษะด้านการอ่านภาษาอังกฤษ หน้าที่ของคำ � และโครงสร้างของประโยค ทำ �ให้เกิดความร่วมมือกับครูภาษาอังกฤษที่เข้ามาช่วยเหลือในช่วงแรก โดยจัดให้มีการเรียนรู้ ศัพท์ผ่านการเปิดพจนานุกรม (Dictionary) เรียนรู้หน้าที่ของคำ � และโครงสร้างของประโยคเพิ่มขึ้น จนกระทั่งเกิดเป็น การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจของครูในรายวิชาอื่นๆ ที่เข้ามาร่วมกันออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยมีวัตถุประสงค์ ร่วมกันคือเน้นพัฒนาการเรียนรู้้�ท ีีเด็กเป็นศูนย์กลางโดยไม่ได้มีตารางนัดหมายกันอย่างชัดเจน ไม่ได้ผ่านการสั่งการ จากผู้้ีอำ �นาจ แต่เกิดจากการรวมตัวกันเพื่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีอิสระของครูโดยยึดผู้เรียนเป็นสำ �คัญ ทำ �ให้เกิด การบูรณาการโดยใช้เรื่องราวของน้องมาเรียมเป็นกรณีศึกษาดังนี้

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1