นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563
5 ปีที่ 48 ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563ี ที่ ั บี่ ุ มั น์ PVA เป็นพอลิเมอร์ที่่ีโครงสร้างแบบเส้น เกิดจากมอนอเมอร์สร้างพันธะโคเวเลนต์เป็นโ่ ยาว และสายโ่ เรียงชิดกัน จึงมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลสูง ทำ �ให้มีความหนาแน่นสูง แข็ง และเหนียว เมื่อละลายนำ� �จะได้สารละลายที่่ีความเหนียว เนื่องจากสายโ่ พอลิเมอร์ในสารละลายเกิดการพันกัน ดังนั้น สไลม์ที่่ำ �จากกาวซึ่่� งมีส่วนผสมของ PVA จึงมีสมบัติ เหนียวและหนืด นอกจากกาวแล้ว ส่วนผสมในสไลม์อีกอย่างหนึ่งก็คือสารละลายบอแรก์ ซึ่่� งมีสูตรโมเลกุล Na 2 B 4 O 7 เมื่อนำ � บอแรก์ มาละลายในนำ� � ในสารละลายจะประกอบด้วยบอเรตไอออน (B(OH) 4 - ) ซึ่่� งมีสูตรโครงสร้างดังนี้ เมื่อใส่สารละลายบอแรก์ ที่่ี B(OH) 4 - ลงไปในกาวที่่ีส่วนผสมของ PVA ซึ่่� งเป็นพอลิเมอร์ที่่ีโครงสร้างแบบเส้น ทำ �ให้เกิดพันธะโคเวเลนต์และพันธะไฮโดรเจนเชื่อมขวางระหว่างสายพอลิเมอร์ ทำ �ให้ได้พอลิเมอร์ที่่ีโครงสร้างแบบร่างแห และโมเลกุลมีขนาดใหญ่ขึ้น สไลม์ที่ได้จึงมีความแข็งมากขึ้น มีความเหนียวและความหนืดมากขึ้น เขียนแสดงโครงสร้างของ สไลม์ที่เกิดขึ้นได้ดังนี้ ถ้าในสไลม์มีปริมาณการเชื่อมขวางมากขึ้นก็จะยิ่งทำ �ให้เกิดความแข็งมากขึ้นด้วย โดยปริมาณของการเกิดพันธะ เชื่อมขวางขึ้นอยู่่ับปริมาณของบอแรก์ ที่ใช้ ยิ่งใช้บอแรก์ มากก็จะมีพันธะเชื่อมขวางมาก ดังนั้น เมื่อทำ �สไลม์จึงควรใส่ สารละลายบอแรก์ ในปริมาณที่พอเหมาะ เพื่อทำ �ให้ได้สไลม์ที่่ีความเหนียวและหนืด แต่หากใช้บอแรก์ น้อยไปก็อาจทำ � ให้สไลม์ที่ได้ไม่อยู่่ัวและไม่คงรูป จากการทำ �สไลม์ที่กล่าวมา เป็นเพียงส่วนหนึ่งของกิจกรรมหรือของเล่นที่พบได้ในชีวิตประจำ �วัน ที่่่วยกระตุ้น ความสนใจ ที่นอกจากจะได้รับความสนุกสนานแล้ว ยังสอดแทรกความรู้ทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งช่วยส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ตรงด้านวิทยาศาสตร์แก่เยาวชนและประชาชนผู้สนใจทั่วไป ซึ่่� งครูผู้สอนสามารถนำ �กิจกรรม ดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนได้อีกด้วย บรรณานุกรม ACS Chemistry for life. Time for Slime . Retrieved December 5, 2019. from https://www.acs.org/content/acs/en/education/whatischemistry/ adventures-in-chemistry/experiments/slime.html. Burrows A. & other. (2009). Chemistry3 introducing inorganic, organic and physical chemistry. New York: Oxford University Press Inc. ดร.ธนาวดี ลี้จากภัย. (2544). เรียนรู้้โพลิเมอร์จากการ ดลอง . กรุงเทพมหานคร: ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2559). หนัังสืือเรีย รายวิิชาเพิ� มเติิม เคมี เล่ม 5 . พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. สำ �นักงานราชบัณฑิิตยสภา. (2560). พจ านุุกรมศััพท์์พอลิเมอร์ฉบัั ราชบัั ฑิิ ย า . พิมพ์ครั้งที่ 2. นครสวรรค์: บริษัท เดอะ เบสท์ เพรส แอนด์ ครีเอชั่น จำ �กัด. พัน ะโคเวเลนต์์ พัน ะไฮโ เจน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1