นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563
52 นิตยสาร สสวท.ิ ต จะประสบปัญหาคือไม่มีที่จะไป ยิ่งเมื่อ IPCC พยากรณ์ไว้ว่า ในอีก 500 ปีระดับนำ� �ทะเลจะสูงขึ้นถึง 15 เมตร Kiribati จึงมีแนวโน้มว่ากำ �ลังจะเป็นนคร Atlantis ในอนาคต อย่างแน่นอน ด้วยเหตุนี้ประธานาธิบดี Anote Tong แห่ง Kiribati จึงได้ปราศรัยเตือนประชาชนทุกคนให้เตรียมอพยพออก จากเกาะ แต่นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมที่ได้ติดตามศึกษา สภาพภูมิศาสตร์ของหมู่เกาะ Kiribati มาเป็นเวลานานร่วม 20 ปี กลับมีความเห็นว่า เหตุการณ์นำ� �ท่วมเกาะคงไม่เกิดขึ้น ในเร็ววัน เพราะหมู่เกาะ Kiribati เกิดจากปะการัง ซึ่่� งเป็นแหล่ง สะสมของตะกอนทีู่่กพัดพามากับกระแสนำ� �ในมหาสมุทร ดังนั้น ขนาดของเกาะจึงมีแต่จะขยาย แต่ความสูงไม่เพิ่มขึ้น ความกว้างใหญ่ของพื้นที่่็ไม่ได้มากพอจะหักล้างกับการกัดเ าะ ชายฝั� งโดยคลื่นในมหาสมุทร ซึ่่� งได้ชะล้างความอุดมสมบูรณ์ ของดินบนเกาะไปทุกวัน นอกจากปัญหาภูมิศาสตร์ที่ชาวเกาะไม่มีทางต่อสู้ แล้ว ชาว Kiribati ก็มีปัญหาด้านสังคมด้วย เพราะชาวเกาะ ส่วนใหญ่มีฐานะยากจนมาก และได้อพยพจากเกาะขนาดเล็ก มาอยู่รวมกันบนเกาะใหญ่และมาดำ �รงชีพอย่างไม่ถูกสุขลักษณะ เช่น ไม่มีส้วม มีฟาร์มเลี้ยงหมูทีู่่กนำ� �ท่วมบ่อย ทำ �ให้ปฏิิกูลหมู ไหลนอง มีผลทำ �ให้นำ� �จืดที่ชาวเกาะใช้บริโภคมีสารปนเป้� อน เป็นประจำ � นำ� �จึงไม่สะอาดและมีรสกร่อย ทำ �ให้ผู้คนบน เกาะป่วยเป็นโรค ทุกวันนี้เกาะเล็กจึงไม่มีผู้คนอาศัยอยู่เลย เพราะขาดนำ� �ดื่มที่สะอาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อฝนไม่ตก ผู้คนจึงต้องอพยพไปอยู่่�ท เมืองหลวง Tarawa และประกอบ อาชีพขุดนำ� �บาดาลจากบ่อที่อยู่ในบริเวณสนามบินโดยใช้ปั� ม เมื่อผู้คนหลั่งไหลมามากขึ้นๆ คนเหล่านี้้็มีปัญหาเรื่อง การหางาน และการให้ลูกหลานได้รับการศึกษา ดังนั้น ความเดือดร้อนทวีความรุนแรงมากขึ้นตลอดเวลา เมื่อมี คนว่างงานเป็นจำ �นวนมาก และเมื่อการปฏิิเสธช่วยเหลือ คนอื่นที่เดือดร้อนเป็นเรื่องต้องห้ามสำ �หรับชาว Kiribati ดังนั้นเมือง Tarawa จึงมีลักษณะคล้ายสลัมแห่งเมือง Bombay มากขึ้นทุกวัน ปัญหาที่คนทั้งโลกสนใจคือ Kiribati จะจมนำ� �เมื่อไร และชาว Kiribati จะอพยพไปที่ใด Kiribati เป็นเกาะจากปะการังที่ได้เจริญเติบโตบน เนินภูเขาไฟใต้มหาสมุทร ดังนั้นเมื่อขุดดินบนเกาะลงไปลึกๆ จะพบหินภูเขาไฟ และตลอดเวลานับล้านปีที่่่านมา ากหอย และปูที่อาศัยอยู่ตามปะการังได้หลอมรวมกับสาหร่ายทะเล จนกลายเป็นหินปูนเรียงรายกันเป็นวงกลม ครั้นเมื่อยอดของ ปะการังเจริญเติบโตถึงระดับนำ� �มหาสมุทร ดินข้างล่างจะทรุดลง ทำ �ให้เกิดทะเลสาบ (Lagoon) กลางเกาะ Kiribati ที่่ีภูเขาไฟ ที่่ับแล้วอยู่เบื้องล่าง เป็นหมู่เกาะปะการังที่เติบโตมาพร้อมกับ ระดับนำ � �ทะเลที่เพิ่มสูงตลอดเวลา และเนื่องจากนำ � �ได้ดูดั บ แก๊สคาร์บอนไดออกไ์ จนกลายเป็นกรดอ่อนๆ และนำ� �มี อุณหภูมิสูง ปะการังที่อยู่รอบเกาะจึงถูกฟอกขาวและเติบโตช้า การวัดอายุของปะการังโดยใช้เทคนิคคาร์บอน-14 แสดงให้ เห็นว่า ในช่วงเวลา 10,000 ปีที่่่านมา ปะการังได้เติบโตช้าลงๆ ภาพ 2 เมิอง South Tarawa ที่มา https://commons.wikimedia.org/wiki/File:South_Tarawa_from_the_air.jpg
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1