นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563

59 ปีที่ 48 ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563ี ที่ ั บี่ ุ มั น์ ่าย แส ซ่ า ทุุกๆ ช่่วงเวลาและเหตุุการณ์์ต่่างๆ ของชีีวิ มนุุษย์์บ โลก พืื จะเป็็ สิ่่� งที่� อยู่� ใ ใจเราเ มอ - Thomas Merton - จากเรื่อง COVID-19 ที่เล่ามา คุณมีหลักในการใช้ชีวิตเพื่อลดความเสี่ยง การติดโรคจากเชื้อไวรัสชนิดนี้ได้อย่างไร ต่ายอยากให้คุณลองเสนอแนวทาง การปฏิิบัติทีุ่่ณเลือกใช้มาแบ่งปันกันอ่าน โดยส่ง email มาที่ funny_rabbit@live.co.uk ภายในวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 โดยต้องใส่ที่อยู่่�ท จะให้จัดส่งของรางวัล ของคุณมาให้เรียบร้อย และเหมือนเดิม หากคุณต้องการส่งสื่อดีๆ ให้โรงเรียนทีุ่่ณ นึกถึง นอกเหนือจากของรางวัลทีุ่่ณจะได้รับช่วยเขียนชื่อโรงเรียนทีุ่่ณอยากให้ต่าย ส่งของไปให้มาด้วย เพื่อที่โรงเรียนจะได้นำ �ไปใช้ในการเรียนการสอนได้ ส่วนเฉลย คุณสามารถติดตามอ่านได้ในฉบับที่ 224 ที่่่ายถามคุณเกี่ยวกับนโยบายการประกาศเลิกใช้พลาสติกแบบถุงหิ้ว ในห้างสรรพสินค้าและร้านสะดวกซื้้� อหลายแบรนด์ คุณคิดว่า คุณจะมีส่วนร่วมในการลดการสร้างขยะพลาสติกได้อย่างไรบ้าง และใน 1 ปี คุณจะช่วยลดการสร้างขยะได้กี่่�ช น คำ �ตอบ ที่่่ายอยากจะเห็นก็คือ วิธีหรือวิถีปฎิบัติทีุ่่ณจะสามารถทำ �ได้ เช่น การพกถุงผ้าขนาดใหญ่ติดตัว พกกล่องพลาสติกไว้ในกระเป๋า หรือในรถ เพื่อใช้ใส่อาหารตามสั่ง ใช้จานชามแก้วนำ� �ที่่ำ �จากวัสดุที่่่อยสลายได้ตามธรรมชาติ พกแก้วนำ� �และหลอดส่วนตัว เพื่อลดขยะจากการใช้แก้วนำ� �และหลอดเพียงครั้งเดียว ปฎิเสธการรับถุงพลาสติกเมื่อไปซื้้� อของ ถ้าช่วยกันทำ �ทุกวันอย่างน้อย ในเวลา 1 ปี จะช่วยลดปริมาณขยะได้ 365-366 ชิ้น ผู้้�ท ได้รับรางวัลก็คือ คุณกชนัันท์์ สิงห์ศรีโว โรงเรียั ด ระกะเทีียม ( ถาพรทัักษิิ าคาร) 36/2 หมู่่5 . ระกะเทีียม อ.เมือง ครปฐม จ. ครปฐม 73000 รอรับรางวัลจากต่ายได้เลยจ้า! คำำถามฉบับที่� 222 เฉล คำำถามฉบับที่� 220 รายงานการวิเคราะห์ข้อมูลฉบับนี้ได้ทำ �การวิเคราะห์และเปรียบเทียบงานวิจัยต่างๆ ที่่ึกษาเกี่ยวกับการฟอกอากาศของ พืชในระบบภาชนะปิดที่่ำ �มาใส่หรือครอบพืชชนิดที่่ำ �การศึกษาไว้ พบว่าจากการศึกษาที่่่านมา มีข้อจำ �กัดของการศึกษาที่เกิดจาก การวางแผนการทดลองมากมาย ส่งผลให้เกิดคำ �ถามและข้อสงสัยกับผลการศึกษาทดลองนั้นๆ ว่า ต้นไม้ที่ปลูกในบ้านหรือที่่ำ �งาน ช่วยฟอกอากาศจริงหรือ! ตัวอย่างเช่น 1) การเลือกใช้วัสดุที่่ำ �มาใช้ในการทดลองกับพืช พบว่าผู้้ิจัยไม่ได้วิเคราะห์ประเด็นในเรื่อง การเกาะติดของสารอินทรีย์ที่ระเหยได้ (Volatile organic compounds หรือ VOC) ที่่ำ �มาใช้ในการทดสอบการฟอกอากาศของพืช เนื่องจาก VOC สามารถเกาะติดกับพื้นผิวของภาชนะนั้นๆ ได้ และเมื่อเกาะติดกับพื้นผิวของภาชนะดังกล่าวแล้ว จะมีการสลายตัว และทำ �ปฏิิกิริยาเปลี่ยนแปลงไปเป็นสารอื่นต่อไป 2) งานวิจัยส่วนใหญ่เป็นการทดสอบความสามารถในการฟอกอากาศของพืช ในระบบปิดเล็กๆ เท่านั้น แต่ในสภาพธรรมชาติจริงๆ อากาศจะมีการถ่ายเทจากภายในบ้านหรือห้องกับสิ่งแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา และในสภาพดังกล่าว ความเข้มข้นของสารที่ใช้ทดสอบจะมีน้อยกว่าในระบบปิดจากการทดลอง ทำ �ให้อัตราการดูดึ มสารพิษที่ใช้ ทดสอบแตกต่างจากในสภาพจริงอย่างมาก ทำ �ให้ไม่สามารถกล่าวได้ว่า พืชที่่ำ �มาปลูกในบ้านจะฟอกอากาศได้ 3) มีการทดลอง ที่ออกแบบการทดลองให้เป็นระบบเปิดเสมือนการปลูกต้นไม้จริงๆ ในบ้านหรือในห้อง แต่ไม่ได้คิดคำ �นวณอัตราการถ่ายเทของ อากาศจากสิ่งแวดล้อมภายนอก ทำ �ให้ไม่สามารถระบุหรือตรวจวัดได้ว่า ค่าที่ได้จากการทดลองเป็นค่าที่เกิดจากการกำ �จัดสาร VOC โดยพืช หรือเกิดจากการถ่ายเทออกสู่่�ส งแวดล้อม 4) มีการทดสอบในระบบปิดเกี่ยวกับความสามารถของพืชในการกำ �จัดสารฟอร์มาลดีไฮด์ พบว่าสารนี้จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงจนกว่าความหนาแน่นของต้นไม้จะเพิ่มเป็น 2.44 ต้นต่อตารางเมตร ในขนาดพื้นที่่้อง 8.18 ตารางเมตร เพดานสูง 2.4 เมตร และฟอร์มาดีไฮด์ก็ลดลงแค่ 10% เท่านั้น 5) มีงานวิจัยอีกชิ้นที่รายงานว่า ต้นไม้สามารถลด VOC ในที่่ำ �งานลงได้มากถึง 75% แต่พบว่างานวิจัยนี้้ำ �การเก็บตัวอย่างที่่ึกษาเพียง 5 นาทีในแต่ละสัปดาห์เท่านั้น และไม่มีการตรวจวัด การถ่ายเทของอากาศในที่่ำ �งานกับอากาศภายนอกด้วย 6) จากงานวิจัยที่่ำ �การวิเคราะห์และเปรียบเทียบ พบว่ามีงานวิจัย สองเรื่องเท่านั้นที่สรุปว่า การปลูกต้นไม้ในบ้านไม่ได้ช่วยทำ �ให้คุณภาพอากาศดีขึ้น จากการวิเคราะห์และเปรียบเทียบข้อมูลจากงานวิจัยเกี่ยวกับการฟอกอากาศของพืชที่่่านมา ทำ �ให้ได้ข้อสรุปว่า พืช เพียงไม่กี่่้นที่ปลูกไว้ในบ้านหรือที่่ำ �งาน ไม่ได้ช่วยหรือมีผลต่อการฟอกอากาศภายในบ้านหรือที่่ำ �งาน แต่สิ่งที่ได้จากการปลูกพืช ไว้ในบ้านหรือที่่ำ �งานก็คือ ผลที่่ีต่อสุขภาพจิต ลดความเครียดสร้างความสุขสดชื่นเมื่อได้พบเห็น และในรายงานวิจัยฉบับนี้ แนะนำ �ให้ทำ �การศึกษาเกี่ยวกับชนิดและความเข้มข้นของ VOC ที่่ืชแต่ละชนิดปล่อยออกมา และผลต่อสุขภาพของผู้ปลูก

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1