นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563

7 ปีที่ 48 ฉบับที่ 222 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563ี ที่ ั บี่ ุ มั น์ 2. ลูโคดาย คือ สารที่สามารถเปลี่ยนสีเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป เนื่องจากโครงสร้างโมเลกุลของสารนี้สามารถ เปลี่ยนแปลงได้ 2 รูปแบบคือ แบบมีสี (Colored Form) และแบบจะไม่มีสี (Leuco Form) ภาพ 2 โครงสร้างของสารลูโคดายบางชนิด เปลี่ยนจากไม่มีสีเป็นสารมีสี เพราะมีการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างเมื่อได้รับความร้อน จึงดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่นต่างจากเดิม สารลูโคดายแตกต่างจากผลึกเหลวคือ สารลูโคดายมีช่วงอุณหภูมิที่่ำ �ให้สารเกิดเปลี่ยนสีเป็นช่วงกว้างประมาณ 3-10 องศาเ ลเี ยส ต่างจากผลึกเหลวที่่ีค่าอุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนสีเฉพาะ จึงตอบสนองการเปลี่ยนอุณหภูมิช้ากว่า จึงนิยมใช้กับวัสดุที่ไม่ต้องการความถูกต้องแม่นยำ �มากนัก เช่น แก้วนำ� � ขวดนำ� �หวาน กระป๋องเครื่องดื่ม หรือ แหวนบอกอารมณ์ ( Mood Ring) ส่วนผลึกเหลวที่่ีค่าอุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนสีเฉพาะตัว ตอบสนองกับอุณหภูมิได้แม่นยำ �มากกว่าสารลูโคดาย นิยมใช้กับอุปกรณ์วัดอุณหภูมิห้อง อุณหภูมิของตู้เย็น อุณหภูมินำ� �ในบ่อปลา การใช้งานในอุตสาหกรรม จะไม่นิยมนำ �ลูโคดายมาทาหรือเคลือบบนพื้นผิวโดยตรง แต่จะนำ �สารมาผ่านกระบวนการ บรรจุลงไมโครแคปู ล และนำ �ไปผสมสารอื่นที่่ำ �หน้าที่่ึดเกาะบนผิววัสดุ ส่วนผลึกเหลวจะถูกบรรจุอยู่ในไมโครแคปู ล ทรงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 ไมโครเมตร ซึ่่� งไมโครแคปู ลนับพันล้านแคปู ลจะถูกผสมรวมกับอะคริลิคซึ่่� งทำ �หน้าที่ เป็นตัวกลางในการยึดติดกับวัสดุอื่น เช่น พลาสติก กระดาษ เสื้อผ้า หรือเ รามิกส์ ผลึกเหลวบางชนิดเปลี่ยนสีได้เมื่ออุณหภูมิของสารเปลี่ยนแปลง ซึ่่� งสีที่เปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่่ับธรรมชาติของ โครงสร้างผลึกที่สะท้อนความยาวคลื่นแสงออกไป การเปลี่ยนแปลงของผลึกเหลวจะแสดงสีออกมาเฉพาะช่วงที่ผลึกเหลวอยู่ ในสถานะนีมาติกเมโ เฟส (Nematic Mesophase) เท่านั้น ดังนั้น การที่ผลึกเหลวมีอุณหภูมิเปลี่ยนไป มีผลทำ �ให้ช่องว่าง ระหว่างชั้นในโครงสร้างผลึกเหลวเกิดการเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ส่งผลต่อการเปลี่ยนความยาวคลื่นแสง ผลึกเหลว สามารถเปลี่ยนสีไปมาได้ เช่น เปลี่ยนจากไม่มีสีไปเป็นสีดำ � และเปลี่ยนจากสีดำ �เป็นไม่มีสีได้อีกครั้ง หรือเปลี่ยนสีจากสีดำ �ไป เป็นสารมีสี และกลับมาเป็นสีดำ �อีกครั้งตามอุณหภูมิที่เปลี่ยนไป

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1