นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 223 มีนาคม - เมษายน 2563
13 ปีที่ 48 ฉบับที่ 223 มีนาคม - เมษายน 2563ี ที่ ั บี่ ี น ภา 2 กราฟเปรียบเทียบการดูดกลืนแสงและการเรืองแสงของสาร B แต่เนื่องจาก EtBr เป็นสารก่อมะเร็ง (Carcinogen) จึงได้มีการเสนอสารย้อมสีชิ้นส่วนของ DNA ตัวใหม่ เรียกว่า สาร B ซึ่่� งมีกราฟการดูดกลืนแสงและการเรืองแสงดังภาพ 2 การดูดกลืนแสง การเรืองแสง คำ �ถาม ถ้าใช้สาร B ย้อมสีชิ้นส่วนของ DNA โดยทำ �การทดลองใน 2 กรณี ดังต่อไปนี้ กรณีที่ 1 ฉายแสง UV ที่่ีความเข้มเท่ากันทุกความยาวคลื่นในช่วง ความยาวคลื่น 250 – 265 nm ลงบนตัวอย่างเป็นเวลา 5 วินาที กรณีที่ 2 ฉายแสงที่มองเห็นได้ที่่ีความเข้มเท่ากันทุกความยาวคลื่นในช่วง ความยาวคลื่น 400 – 700 nm ลงบนตัวอย่างเป็นเวลา 5 วินาที ในการทดลองแต่ละกรณี เราจะสามารถเห็นการเรืองแสงของสารย้อมสี หรือไม่ ถ้าเห็นการเรืองแสง จะเห็นเป็นแสงสีใด ระบุสีของแสงที่เป็นไปได้มากทีุ่่ดจากข้อมูลในตารางที่ 1 เพียงสีเดียว เท่านั้น จุดประสงค์ของคำ �ถามข้อนี้ คือ ให้พิจารณาข้อมูลจากสถานการณ์ แล้ววิเคราะห์เพื่อหาคำ �ตอบ ซึ่่� งต้องใช้ ความสามารถใน การส่� อสาร โดยใช้ การอ่านกราฟตารางและการตีความหมาย จากกราฟในการหาคำ �ตอบ เฉลยคำ �ตอบ ที่นี่ bit.ly/223-r3 ในปีการศึกษา 2563 สสวท. จะเปิดรับสมัครสอบ เพื่อวัดความฉลาดรู้้้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ สำ �หรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่า ในช่วง เดือนตุลาคมพ.ศ. 2563 ซึ่่� งสามารถติดตามรายละเอียดของ การสอบวัดความฉลาดรู้้้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เพิ่มเติมได้ที่ https://sml.ipst.ac.th หรือที่ http://dpst.ipst.ac.th
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1