นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 223 มีนาคม - เมษายน 2563

35 ปีที่ 48 ฉบับที่ 223 มีนาคม - เมษายน 2563ี ที่ ั บี่ ี น ? คำำถาม าง ณิิตศาสตร์ ิ์ ทำำไมจำนวนผู้้� ป่่วยโร โควิิด-19 เพิ่่� มขึ้� นอย่างรวดเร็วทั่� วโล้ �่ิ่ �้ �่็่ � คำำตอบ เนื่องจากยีนเป็นสิ่งที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า และในร่างกายของผู้้ิดเชื้อมีปริมาณอาร์เอ็นเอของไวรัส น้อยกว่าระดับที่เครื่องมือจะตรวจได้ ในทางการแพทย์จึงต้องใช้วิธีเพิ่มจำ �นวนชิ้นส่วนของยีนของไวรัสที่จะตรวจหา ด้วยเทคนิค Real-time Reverse Transcription-Polymerase Chain Reaction (Real-time RT-PCR) วิธีนี้้ำ � โดยนำ �ตัวอย่างที่่่งตรวจไปสกัดเพื่อแยกอาร์เอ็นเอออกมา แล้วนำ �ไปสังเคราะห์เป็นดีเอ็นเอขึ้นมาใหม่ในหลอดทดลอง จากนั้นใช้ดีเอ็นเอดังกล่าวเป็นแม่แบบในการเพิ่มจำ �นวนชิ้นส่วนของยีนที่่้องการตรวจหา โดยใช้ปฏิกิริยาลูกโ่ หรือ พีี อาร์ (PCR) พร้อมกับเติมสายนิวคลีโอไทด์ขนาดสั้นๆ ซึ่่� งติดฉลากด้วยสารเรืองแสง (Fluorescent probe) และสามารถ จับกับชิ้นส่วนของยีนซึ่่� งถูกสร้างขึ้นได้อย่างจำ �เพาะเข้าไปในปฏิกิริยา ทำ �ให้สามารถตรวจวัดสัญญาณเป็นความเข้มของ การเรืองแสงที่ปล่อยออกมาจากสารเรืองแสงนั้น ซึ่่� งจะเพิ่มขึ้นเมื่อมีชิ้นส่วนของยีนถูกสังเคราะห์ให้มีจำ �นวนเพิ่มขึ้น จากการทำ �ปฏิกิริยาลูกโ่ หลายๆ รอบ (Cycles) และเป็นสัดส่วนโดยตรงกับปริมาณของอาร์เอ็นเอของไวรัสซึ่่� งอยู่ใน ตัวอย่างที่่่งตรวจ นั่นคือหากในตัวอย่างมีเชื้อไวรัส การเรืองแสงจะเพิ่มขึ้นจนเกินระดับที่่ำ �หนดไว้ (Threshold) ทำ �ให้ สรุปได้ว่าผลการตรวจเป็นบวก (Positive) หรือในตัวอย่างที่่่งมาตรวจนั้นมีเชื้อไวรัสอยู่ แต่ถ้าในตัวอย่างไม่มีเชื้อไวรัส ก็จะไม่มียีนต้นแบบในการเพิ่มจำ �นวน ดังนั้น จึงไม่เกิดการเรืองแสงแม้จะทำ �ปฏิกิริยาลูกโ่ หลายรอบ ในกรณีนี้สรุป ได้ว่า ผลการตรวจเป็นลบ (Negative) ทั้งนี้ การตรวจหาเชื้อไวรัสที่่่อโรคโควิด-19 ด้วยวิธีนี้้้องได้ผลเป็นบวกตรงกัน จากการตรวจโดยห้องปฏิบัติการ 2 แห่งที่ได้มาตรฐานจึงจะยืนยันว่าเป็นผู้้ิดเชื้อ และการตรวจนี้ใช้เฉพาะกับผู้้ัมผัส หรือผู้สงสัยติดเชื้อเท่านั้น ไม่ใช้เพื่อยืนยันการไม่ติดเชื้อในบุคคลทั่วไป เนื่องจากไม่สามารถรับรองได้ว่าไม่ได้อยู่ใน ระยะฟักตัว หรือจะไม่ติดเชื้อหลังจากการตรวจ หลังจากที่่ีรายงานการพบผู้้่วยโรคโควิด-19 เป็นครั้งแรกที่เมืองอู่่� ฮ น ประเทศจีน ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 การระบาดของโรคได้แพร่กระจายขยายวงกว้างไปในหลายประเทศทั่วโลก และทำ �ให้มีจำ �นวนผู้้ิดเชื้อเพิ่มขึ้นอย่างมาก จนเมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2563 องค์การอนามัยโลกหรือ WHO ได้ออกมาประกาศยกระดับให้โรคโควิด-19 เป็น โรคระบาดใหญ่ที่่ีการลุกลามไปทั่วโลก (Pandemic) จนถึงวันนี้ (23 มีนาคม พ.ศ. 2563) พบผู้้ิดเชื้อไวรัสมากกว่า สามแสนรายในเกือบสองร้อยประเทศทั่วโลก และมีผู้เสียชีวิตจากโรคนี้กว่าหนึ่งหมื่นห้าพันคน นอกจากนี้ จำ �นวน ผู้้ิดเชื้อทั่วโลกและในหลายประเทศยังคงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องแบบทวีคูณหรือแบบเอ็กโพเนนเชียล (Exponential Growth) ดังภาพ 3 ซึ่่� งนับเป็นปัญหาที่่ำ �คัญและน่าเป็นห่วงอย่างยิ่ง ภา 2 การแปลผลการตรวจวินิจฉัยโรคโควิด-19 โดยวิธี real-time RT-PCR

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1