นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 223 มีนาคม - เมษายน 2563

36 นิตยสาร สสวท.ิ ต ภา 3 สถิติจำ �นวนผู้้ิดเชื้อไวรัสโรคโควิด-19 ทั่วโลก (22 มกราคม – 22 มีนาคม พ.ศ. 2563) ที่มา ดัดแปลงจาก https://www.worldometers.info/coronavirus/coronavirus-cases ในทางคณิตศาสตร์การเพิ่มขึ้นแบบเอก์ โพเนนเชียล (Exponential Growth) หมายถึง การเพิ่มขึ้นอย่างเป็นสัดส่วน กับจำ �นวนที่่ีอยู่เดิม และมีกราฟซึ่่� งพล็อตระหว่างจำ �นวน ประชากรกับเวลาเป็นรูปตัวเจ (J) โดยในช่วงแรกตัวเลข หรือจำ �นวนประชากรมีการเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ แต่ต่อมา การเพิ่มจำ �นวนจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น หากเราลอง นับเลขแบบทวีคูณสองเท่า จาก 1 เป็น 2, 4, 8, 16, 32, … ไปเรื่อยๆ จะพบว่าต้องนับถึง 20 ครั้งกว่าจะถึง หนึ่งล้าน แต่เมื่อนับต่อไปอีกเพียง 4 ครั้ง จากหนึ่งล้าน จะเพิ่มขึ้นเป็นสิบหกล้านอย่างรวดเร็ว ในทำ �นองเดียวกัน เนื่องจากผู้้ิดเชื้อหนึ่งคนสามารถแพร่กระจายเชื้อไปยัง คนอื่นๆ ได้หลายคน และผู้้�ท ีิดเชื้อจากผู้้่วยคนแรกก็ สามารถแพร่กระจายเชื้อไปยังคนอื่นๆ ต่อไปได้อีกหลายคน ด้วยเหตุนี้้ึงทำ �ให้การระบาดของโรคโควิด-19 ในหลายประเทศ มีแนวโน้มของการเพิ่มขึ้นของจำ �นวนผู้้ิดเชื้อใกล้เคียงหรือ เป็นแบบเอก์ โพเนนเชียล “เราจะหยุดยั้งการระบาดของโรคนี้ได้หรือไม่” คำ �ตอบคือ คงเป็นไปได้ยาก เนื่องจากในปัจจุบันยังไม่มี วัคี นสำ �หรับป้องกันหรือยาสำ �หรับรักษาโรคโควิด-19 แล้ว “เราจะลดการระบาดของโรคนี้ได้หรือไม่” น่าจะเป็นโจทย์ ที่เหมาะสมและมีความเป็นไปได้มากกว่า เพราะการ ทำ �ให้การติดต่อหรือการแพร่กระจายของโรคเพิ่มขึ้นใน อัตราที่่้าลงส่งผลให้โรงพยาบาลและบุคคลากรทางการ แพทย์สามารถรับมือกับผู้้่วยได้ทันและเพียงพอ รวมทั้ง นักวิจัยได้มีเวลาคิดค้นเครื่องมือออกมาต่อสู้้ับโรคนี้ วิธีการหนึ่งทีุ่่กคนจะช่วยลดการระบาดของโรคนี้ได้คือ "Social Distancing" หรือการจำ �กัดหรือเว้นระยะการเข้าใกล้กัน โดยไม่พบปะกับคนจำ �นวนมากในคราวเดียว และไม่ใช้เวลา อยู่่่วมกับคนอื่นนานเกินไป เนื่องจากไวรัสนี้สามารถ ติดต่อจากคนสู่คนผ่านทางละอองฝอยได้ในระยะน้อยกว่า 2 เมตร ซึ่่� งหากมองในมุมของคณิตศาสตร์ สมมติว่า ผู้้ิดเชื้อ หนึ่งคนสามารถแพร่กระจายโรคไปสู่่� ผ ู้้นได้ 3 คน โดยใช้ เวลาในการติดเชื้อ 5 วัน เมื่อเวลาผ่านไป 15 วัน คาดว่า จะมีผู้้ิดเชื้อสะสมรวมทั้งสิ้น 1 + 3 1 + 3 2 + 3 3 เท่ากับ 40 คน แต่หากมีมาตรการป้องกันโรคโดยวิธี Social Distancing ผู้้ิดเชื้อจะมีโอกาสทำ �ให้โรคแพร่กระจาย ได้น้อยลง และทำ �ให้มีจำ �นวนผู้้ิดเชื้อรวมลดลง ดังภาพ 4 ส่วนกราฟในภาพ 5 เป็นการจำ �ลองสถานการณ์เพื่อแสดง ให้เห็นว่า Social Distancing ช่วยลดจำ �นวนและชะลออัตรา การเพิ่มขึ้นของผู้้ิดเชื้อได้ กิจกรรม Social Distancing ทีุ่่กคนช่วยกันทำ �ได้ ได้แก่ ยืนหรือนั่งห่างกัน 1.5-2 เมตร งดการรวมตัวกันในที่่ำ �งาน ที่ประชุม ร้านอาหาร สถานที่ ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา หรือสถานบันเทิงต่างๆ รับประทานอาหารที่เป็นชุดสำ �หรับคนเดียว เปลี่ยนไปใช้ การทำ �ธุรกรรมทางออนไลน์ การทำ �งานจากที่่้าน และ การเรียนออนไลน์แทนการเรียนในชั้นเรียน

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1