นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 223 มีนาคม - เมษายน 2563
39 ปีที่ 48 ฉบับที่ 223 มีนาคม - เมษายน 2563ี ที่ ั บี่ ี น ภา 6 การทำ �งานของเครื่องวัดอุณหภูมิชนิดตรวจจับรังสีอินฟราเรดแบบไม่สัมผัส คำำถาม างฟิิสิ์ ิสิ์ เครื่� องตรวจวัดอุ หภููมิ องร่าง ายที่� ใช้้ตรวจคััด รองโร ทำำงานอย่างไร ่ � อั ดุู มิ่่ � ใ้ ตั ด่ คำำตอบ โรคโควิด-19 เป็นโรคที่่ำ �ให้ผู้้่วยมีไข้สูง โดยมีอุณหภูมิของร่างกายมากกว่า 37.5 องศาเ ลเี ยส ด้วยเหตุนี้ หลายหน่วยงานจึงมีมาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค โดยใช้วิธีตรวจคัดกรองคนเข้าออกอาคาร หรือสถานที่่้วยการวัดอุณหภูมิของร่างกาย ซึ่่� งมาตรการนี้เองทำ �ให้เครื่องวัดอุณหภูมิของร่างกายชนิดตรวจจับรังสี อินฟราเรดแบบไม่สัมผัส (Non-contact Infrared Thermometer) ที่่ีลักษณะคล้ายปืน เข้ามามีบทบาทและเป็นอุปกรณ์ ที่พบเห็นได้ทั่วไป เครื่องวัดอุณหภูมิชนิดนี้้ำ �งานโดยเครื่องจะยิงแสงเลเ อร์เพื่อระบุตำ �แหน่งของพื้นผิวที่่้องการวัด เช่น บนหน้าผาก ในระยะห่างที่เหมาะสมระหว่างตัวเครื่องกับร่างกาย แล้วรวบรวมรังสีอินฟราเรดที่แผ่ออกมาจาก ร่างกาย ผ่านชิ้นเลนส์หน้าตัวเครื่องเพื่อส่งไปที่่่วนตรวจจับรังสีอินฟราเรด จากนั้นส่วนตรวจจับนี้จะเปลี่ยนพลังงาน จากรังสีเป็นสัญญาณทางไฟฟ้าแล้วส่งไปยังหน่วยประมวลผล ซึ่่� งหลังจากทำ �การประมวลผลแล้วเครื่องจะแสดงค่า อุณหภูมิของร่างกายเป็นตัวเลขปรากฏที่บนหน้าจอ รังสีอินฟราเรดซึ่่� งเป็นรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่ไม่สามารถ มองเห็นด้วยตาเปล่า แต่มีการแผ่ออกมาจากพื้นผิวของวัตถุทุกชนิดที่่ีอุณหภูมิสูงกว่า 5 เคลวินหรือ -268 องศาเ ลเี ยส ในความยาวคลื่นที่แตกต่างกันระหว่าง 0.7 - 1,000 µm ทำ �ให้สามารถใช้ประโยชน์จากรังสีนี้ ในการวัดอุณหภูมิของวัตถุได้ โดยไม่จำ �เป็นต้องมีการสัมผัส และกระบวนการทั้งหมดนี้้ำ �ได้รวดเร็วกว่าการวัดโดยใช้ปรอทวัดไข้ธรรมดา จึงทำ �ให้ อุปกรณ์ชนิดนี้เป็นที่่ิยมใช้ในปัจจุบัน เครื่องมืออีกชนิดหนึ่งที่ใช้หลักการวัดรังสีความร้อนหรือรังสีอินฟราเรดที่แผ่ออกมาจากวัตถุเช่นเดียวกัน คือ กล้องตรวจจับความร้อน (Thermal Camera) หรือกล้องเทอร์โมสแกน (Thermoscan Camera) ซึ่่� งอุปกรณ์มีการดัดแปลง เพิ่มเติมในส่วนของเ นเ อร์รับภาพและส่วนแสดงผล ให้สามารถแสดงผลการวัดออกมาเป็นภาพถ่ายที่่ีสี ซึ่่� งบ่งบอก ระดับอุณหภูมิที่แตกต่างกัน หรือแสดงเป็นตัวเลข เครื่องมือชนิดนี้เหมาะสำ �หรับการตรวจคัดกรองคนจำ �นวนมาก เช่น ในสนามบิน หรือสถานีรถไฟฟ้า อย่างไรก็ตาม เนื่องจากรังสีอินฟราเรดมีอยู่ในสิ่งแวดล้อม จึงอาจทำ �ให้เครื่องมือชนิดนี้ ถูกรบกวนจากสิ่งแวดล้อมและทำ �ให้ความแม่นยำ �ลดลง ในการวัดอุณหภูมิด้วยกล้องตรวจจับความร้อนจึงจำ �เป็น ต้องให้ผู้้่วยผ่านทีละคนเพื่อความถูกต้องในการวัด อย่างไรก็ดีนับว่าเครื่องมือสองชนิดนี้้ีบทบาทอย่างมากในการช่วย คัดกรองผู้้� ท อาจติดเชื้อเบื้องต้นในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 และช่วยลดความเสี่ยงของการติดต่อของโรค เนื่องจากไม่ต้องสัมผัสโดยตรงกับผู้้�ท ได้รับการตรวจ ?
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1