นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 223 มีนาคม - เมษายน 2563
41 ปีที่ 48 ฉบับที่ 223 มีนาคม - เมษายน 2563ี ที่ ั บี่ ี น สำำ �รวจขยะ ตระหนัักร้� สิ่� งแวดล้้อม ำ �ั ก้ � สิ่� ง้ อ เตรียมพร้อมเยาวชนสู่่� สัังคมป อดขยะ ี ย้ อ่ � สััง สถานการณ์ขยะส่งผลกับมนุษย์และสิ่งมีชีวิตทั� งบนบกและในนำ� � ก่อให้เกิดผลกระทบในวงกว้างทั� งระดับ ประเทศ ภูมิภาค และระดับโลก มาตรการการจัดการขยะจึงเกิดขึ� นในหลายรูปแบบทั� งมาตรการทางกฎหมายและ ภาคสังคม โดยรณรงค์ให้ประชาชนทั่วไป รวมทั� งกลุ่มเยาวชนที่จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ในอนาคต ได้เรียนรู้และเข้าใจ หลักการลดปริมาณขยะที่เกิดจากการอุปโภคบริโภคของแต่ละคน การจัดการขยะที่เกิดขึ� นจากกิจกรรมของมนุษย์ รวมถึงเทคโนโลยีที่จะนำ �ขยะกลับมาหมุนเวียนใช้ให้ได้นานทีุ่่ด ประเทศสิงคโปร์เป็นประเทศหนึ่งที่่่วงใยในปัญหาสิ่งแวดล้อมและมุ่งปลูกฝังความตระหนักรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมให้แก่เยาวชน โดยในปี ค.ศ. 2019 ได้จัดกิจกรรมค่ายสิ่งแวดล้อม STEP Environment Camp 2019 ให้กับเยาวชน อายุระหว่าง 17-19 ปี จากทวีปเอเชีย เป็นเวลา 5 วัน (10-16 พฤศจิกายน ค.ศ. 2019) และผู้เขียนมีโอกาสนำ �คณะนักเรียน ที่เป็นผู้แทนจากสสวท. เข้าร่วม โดยหัวข้อหลักเป็นเรื่อง Climate Change and Environmental Sustainability, Zero Waste กิจกรรมหนึ่งของเยาวชนที่อยู่ในค่ายคือการสำ �รวจธรรมชาติ ได้แก่ ป่าเขตร้อนในอุทยานธรรมชาติวินด์เ อร์ (Windsor Nature Park) ป่าชายเลนในเขตอนุรักษ์ธรรมชาติพื้นที่่�ช มนำ�ั นไก บูลอร์ (Sungei Buloh Wetlands Reserve) และชายหาด บนเกาะเ นต์จอห์น (St. John's Island) ในแต่ละพื้นที่่ึกษามีลักษณะความโดดเด่นที่่่างกัน กิจกรรมสำ �รวจสิ่งแวดล้อม จึงแตกต่างกันในสามพื้นที่ บทความนี้้�ผ เขียนขอแนะนำ �การสำ �รวจขยะที่พบในเขตอนุรักษ์ธรรมชาติพื้นที่่�ช มนำั นไก บูลอร์ (Sungei Buloh Wetland Reserve) ซึ่่� งนอกจากจะเป็นพื้นที่อนุรักษ์ธรรมชาติแล้ว ยังเป็นพื้นที่่�ท ใช้ประโยชน์ในการท่องเที่ยวและ กิจกรรมอื่นๆ ของมนุษย์ ซึ่่� งผู้เขียนคิดว่าสามารถนำ �ไปปรับใช้ในการสำ �รวจขยะในพื้นที่ธรรมชาติของเรา โดยใช้วัสดุอุปกรณ์ ที่หาได้ง่าย และสามารถนำ �มาปรับใช้ได้กับเด็กในทุกวัย ในการฝึกการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และวิเคราะห์ปัญหา ป่าชายเลนเป็นรอยต่อของแผ่นดินกับทะเลที่ได้รับผลกระทบจากนำ� �ขึ้นนำ� �ลง บริเวณนี้้ีความสำ �คัญต่อมนุษย์ใน การใช้เพาะเลี้ยงสัตว์นำ� � เป็นแนวป้องกันชายฝั� ง มีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตชายฝั� งและทะเล การใช้ประโยชน์ในพื้นที่ ป่าชายเลนและการขยายเมืองของมนุษย์ ส่งผลให้เกิดการทำ �ลายพื้นที่่่าชายเลน พื้นที่เขตอนุรักษ์ธรรมชาติพื้นที่่�ช มนำ� � ั นไก บูลอร์ เป็นหนึ่งในสี่่�พ นที่อนุรักษ์ของสิงคโปร์ มีความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งเป็นที่อยู่ของนกอพยพในช่วงเดือน กันยายนถึงมีนาคมของทุกปี กิจกรรมนี้เป็นการศึกษาผลที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ที่่่อให้เกิดขยะในระบบนิเวศป่าชายเลน การเรียนกระตุ้้� น ความคิด สมรศรี กันภัย • ผู้้ำ �นาญ ฝ่ายโลกศึกษาเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อม (GLOBE) สสวท. • e-mail: skanp@ipst.ac.th
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1