นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 223 มีนาคม - เมษายน 2563

47 ปีที่ 48 ฉบับที่ 223 มีนาคม - เมษายน 2563ี ที่ ั บี่ ี น ขั� วโลกใต้ ดวงอาทิตย์ ดาว C ดาว D ดาว A ดาว B ขั� วโลกเหนือ เส้นศูนย์สูตรโลก N S W 4 3 2 1 E ที่� มาของทิิศหลััก่ �ิั ที่มาของทิศตะวันออก – ตะวันตก คือ การหมุนรอบตัวเองของโลก โดยหมุนจากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก รอบละ 1 วัน ไม่ว่าจะอยู่บนเส้นศูนย์สูตรโลก อยู่ในี กโลกเหนือ หรืออยู่ในี กโลกใต้ โลกหมุนแบบเดียวกันคือ จาก ทิศตะวันตก ไปทิศตะวันออก เมื่อเทียบกับการหมุนของเข็มนาฬิิกาการหมุนของโลก จะเป็นตรงกันข้ามกล่าวคือ ในี กโลกเหนือโลก หมุนทวนเข็มนาฬิิกา แลในี กโลกใต้โลกหมุนตามเข็มนาฬิิกา ทิศบนพื้นดิน 4 ทิศหลัก นำ �ไปใช้แบ่งท้องฟ้าออกเป็น 2 ส่วนได้ เช่น ท้องฟ้าทางทิศเหนือ และท้องฟ้าทางทิศใต้ โดยมีเส้นแบ่งครึ่งเป็นเส้นโค้ง EZW (เส้นโค้งที่่�ต งฉากกับเส้นขอบฟ้าตรงจุดทิศตะวันออกและตรงจุดทิศตะวันตก ซึ่่� งจะผ่าน จุดเหนือศีรษะด้วย) นอกจากนี้ ยังอาจแบ่งท้องฟ้าออกเป็นท้องฟ้าทางทิศตะวันออกและท้องฟ้าทางทิศตะวันตกด้วย เส้นเมริเดียน NZS (เส้นโค้งที่่�ต งฉากกับเส้นขอบฟ้าตรงจุดทิศเหนือและจุดทิศใต้ ซึ่่� งจะผ่านจุดเหนือศีรษะด้วย) ท้้องฟ้้า 2 ทิิศ าง้้ิ ภา 2 แสดงทิศที่อยู่่ิดกับโลก ในภาพ 2 ถ้าผู้้ังเกตยืนอยู่บนผิวโลกตรงจุดตัดของแนว EW และ NS ที่บริเวณศูนย์สูตร (ตำ �แหน่ง 1) เมื่อโลกหมุน จากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออกจึงพาท้องฟ้าของผู้้ังเกตไปด้วย ทำ �ให้เกิดปรากฏการณ์ขึ้น – ตกของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาวทั้งหลาย เช่น ขณะนี้ขอบฟ้าตะวันออกชี้ไปทางดวงอาทิตย์ และดาว C ทำ �ให้ผู้้ังเกตเห็นดวงอาทิตย์และ ดาว C ขึ้นทางทิศตะวันออก เริ่มเกิดเวลากลางวัน ตรงกับเวลา 6 นาฬิิกา มองไม่เห็นดาว C เพราะเป็นเวลากลางวัน เมื่อเวลาผ่านไป 6 ชั่วโมงตรงกับเวลา 12 นาฬิิกา ผู้้ังเกต (ตำ �แหน่ง 2) จะเห็นดวงอาทิตย์และดาว C ผ่านเมริเดียน ดาว D ขึ้นทางตะวันออก ดาว B ตกทางตะวันตก หลังจากนั้นอีก 6 ชั่วโมงตรงกับเวลา 18 นาฬิิกา (ตำ �แหน่ง 3) ขอบฟ้าตะวันตก จะชี้ไปทางดวงอาทิตย์และดาว C หมายความว่าดวงอาทิตย์และดาว C กำ �ลังตก

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1