นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 223 มีนาคม - เมษายน 2563
48 นิตยสาร สสวท.ิ ต ทิิศบนท้้องฟ้้าแ ะทิิศบนโ กเกิดจากเหตุุเดียวกันิ้้ิิุีั ดวงจัน ร์์ ดาวเค าะห์ ดาวฤกษ์์ เม่� ออย่� างทิิศ ะวันออกของดวงอาทิิตย์์จะข้� นเว า ั์์์่ �่ �ิัิ์้ � ก างวัน แ ะเม่� ออย่� างทิิศ ะวัน กของดวงอาทิิตย์์จะข้� นเว าก างคืนั่ �่ �ิัิ์้ �ื โลกหมุนรอบตัวเองจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก คือสาเหตุที่่ำ �ให้ผู้้ังเกตบอกได้ว่า ประเทศเมียนมาร์อยู่ทาง ทิศตะวันตกของประเทศไทย เพราะโลกหมุนจากตะวันตก (เมียนมาร์) มาทางตะวันออก (ประเทศไทย) มีอีกหลายประเทศ นอกจากเมียนมาร์ ที่อยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศไทย เช่น อินเดีย ประเทศต่างๆ ในยุโรป ในแอฟริกา และในฝั� งตะวันออก ของอเมริกาใต้ ส่วนประเทศที่อยู่ตรงกันข้ามกับประเทศไทย คือ ประเทศที่ใช้เขตเวลามาตรฐานน้อยกว่าของประเทศไทย 12 ชั่วโมง (เขต -5 ชั่วโมง) เช่น ฝั� งตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และฝั� งตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ สำ �หรับประเทศที่อยู่ทางตะวันออกของประเทศไทย โดยเห็นดวงอาทิตย์ขึ้นก่อนมีหลายประเทศ อาทิ ญี่่�ป น ออสเตรเลีย นิวี แลนด์ รวมไปถึงฝั� งตะวันตกและตอนกลางของทวีปอเมริกาเหนือ ทิศบนท้องฟ้าเกิดจากโลกหมุนรอบตัวเอง จากภาพ 2 ดวงอาทิตย์และดาว C อยู่ตรงข้ามกับดาว A ทำ �ให้เห็น ดาว A ตลอดทั้งคืน (ขึ้นเวลา 18 นาฬิิกา ตกเวลา 6 นาฬิิกา) ดาว D อยู่ทางทิศตะวันออกของดวงอาทิตย์เป็นมุม 90 องศา จึงขึ้นเวลา 12 นาฬิิกากลางวัน (เวลาเที่ยงวัน) และตกเวลา 24 นาฬิิกา (เวลาเที่ยงคืน) ดาว B อยู่ทางทิศตะวันตกของดวงอาทิตย์เป็นมุม 90 องศา จึงขึ้นเวลากลางคืนเมื่อเวลา 24 นาฬิิกาหรือเที่ยงคืน และตกเวลาเที่ยงวัน จากภาพ 2 จะเห็นชัดเจนว่า ผู้สังเกตที่อยู่ตรงข้ามกันบนเส้นศูนย์สูตร จะเห็นดวงอาทิตย์อยู่ในทิศที่แตกต่างกัน เช่น ต� ำแหน่ง 1 อยู่ตรงข้ามต� ำแหน่ง 3 ผู้สังเกตต� ำแหน่ง 1 เห็นดวงอาทิตย์ขึ้นทางตะวันออกและเห็นดาว A ตกทางตะวันตก แต่ผู้สังเกต ณ ต� ำแหน่ง 3 เห็นดวงอาทิตย์ตกทางตะวันตก และเห็นดาว A ขึ้นทางตะวันออก ส่วนต� ำแหน่ง 4 เป็นต� ำแหน่ง เมื่อเวลาเที่ยงคืนของผู้สังเกต ดวงจันทร์ โคจรรอบโลกจากตะวันตกไปตะวันออก รอบละ 1 เดือน จึงมีโอกาสที่จะอยู่ทางตะวันออกของดวงอาทิตย์ประมาณ ครึ่งเดือน และอยู่ทางตะวันตกของดวงอาทิตย์อีกครึ่งเดือน ตำ �แหน่ง ที่ดวงจันทร์อยู่ทางตะวันออกของดวงอาทิตย์คือ ดวงจันทร์ข้างขึ้น และตำ �แหน่งที่ดวงจันทร์อยู่ทางทิศตะวันตกของดวงอาทิตย์คือ ดวงจันทร์ข้ามแรม ดังนั้น ดวงจันทร์ข้างขึ้นจึงขึ้นเวลากลางวัน เช่นวันขึ้น 8 คำ� � ดวงจันทร์จะขึ้นเวลาประมาณ 12 นาฬิิกา ส่วนดวงจันทร์ข้างแรม ขึ้นเวลากลางคืน เช่น วันแรม 8 คำ� � ดวงจันทร์ขึ้นเวลาประมาณ 24 นาฬิิกา ดาวเคราะห์ โคจรรอบดวงอาทิตย์จากตะวันตกไปตะวันออก ด้วยความเร็วที่แตกต่างกัน เช่น ดาวพุธ ดาวศุกร์ เคลื่อนที่ไปทาง ตะวันออกเร็วกว่าดวงอาทิตย์ (ดวงอาทิตย์ปรากฏเคลื่อนที่ไปทาง ตะวันออกวันละประมาณ1 องศา เพราะการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ การเลื่อนไปทางตะวันออกวันละประมาณ 1 องศา จึงเป็นการเคลื่อนที่ แทนโลกซึ่่� งโคจรเร็วเป็นที่3 รองจากดาวพุธและดาวศุกร์) ส่วนดาวเคราะห์ ที่เคลื่อนที่ไปทางตะวันออกช้ากว่าดวงอาทิตย์คือดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร์ ภา 3 แสดงข้างขึ้น-ข้างแรมของดวงจันทร์ ที่มา https://www.stkc.go.th/info/ข้างขึ้นข้างแรม ภา 4 ระบบสุริยะ ที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/ระบบสุริยะ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1